Free Google Submission Free Social Media SubmissionFree Website SubmissionFree Url Submission คู่มือระบบเสียง
dot dot
dot
ค้นหาสินค้า


  [Help]
dot
ขอใบเสนอราคา
dot
สมัครสมาชิก

dot
ANALOG MIXER
ดิจิตอล MIX DIGITAL
เพาเวอร์มิกซ์ POWER MIXER
เพาเวอร์แอมป์ Power Amp
เพาเวอร์แอมป์ PowerAmp Line70-100v
ลำโพงมีเพาเวอร์
ลำโพงฝังฝ้า,Ceiling
 ลำโพงกลางแจ้งPA
ลำโพงคอลั่ม
ลำโพงติดผนัง
ไมค์โครโฟนไร้สาย ไมค์ลอย
ไมค์สาย
ไมค์ห้องประชุม
ลำโพงฮอร์น  Horn Speaker
โทรโข่ง  Megaphone
เครื่องเสียงพกพา Portable
เครื่องเล่น CD-DVD
อุปกรณ์โครงสร้าง ทรัชอลูมิเนียม
ปลั๊กไฟใส่ตู้ AC OUT-LET
ชุดทัวร์ไกด์
เครื่องฉาย Projector
จอโปรเจคเตอร์
เครื่องฉาย3มิติ Visualizer
Accessories อุปกรณ์ระบบเสียง
ระบบไฟ LIGHTING
CCTV SYSTEM ระบบวงจรปิด
stage เวที
สินค้าลดราคา


line
ลิ้งเว็ปบริษัท
ตรวจสอบการส่งสินค้า
ระหัส DBD
เว็ปให้เช่าระบบแสงเสียง


คู่มือระบบเสียง

Sound System Reference Manual คูมือการออกแบบระบบเสียง

การออกแบบระบบเสียงที่ดี มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประโยชนสูงสุด ผูออกแบบตอง เขาใจรายละเอยี ดตางๆ ที่เกยี่ วของกับระบบเสียง เชน การทํางานของอุปกรณตางๆ ทใี่ ชในระบบ เสียงแตละชนดิ การเดินทางและความดังของเสียงความชัดเจนของการไดยินเสยีงและ สภาพแวดลอมเพื่อใหผูพดู สามารถสงขาวสารและขอมลู ถึงผูฟงไดอยางถูกตอง  เสียงท่ีหูคนฟงไดยินนั้นมีความถี่20-20,000เฮิรตซหรือHz(ตัวอยางเชนเสียงที่เกดิ จาก การสีไวโอลิน เสียงที่เกิดจากการทุบของคอนบนสายเปย โน เสียงท่ีเกดิ จากการสั่นสะเทือนของ กรวยลําโพง เปนตน) เสยี งเปนคลื่นตามยาวเกดิ จากการส่ันสะเทือนของวัตถุที่มีลักษณะยืดหยนุ เชนน้ําอากาศและของแขง็ เสียงมีคุณสมบัติการสะทอ นการหักเหการแทรกสอดและ การเลี้ยวเบน

คํานํา

หนังสือเลมนี้มีการเขียนที่กะทัดรัดสามารถทําความเขาใจในเร่ืองระบบเสียง ครอบคลุมเกือบทุกเนื้อหาทที่ท านผูอานสามารถนํามาเปนหนังสือคูมืออางอิงได ขอขอบคุณบริษัทฟิลลิปสอิเล็กทรอนิกส(ประเทศไทย)จํากัดท่ีใหไดมีโอกาสแปล และเรียบเรียงหนังสือ Sound System Reference Manual ของ Mr.Fran van der Meulen เปน ภาษาไทย เพื่อความสะดวกของทานผูอานท่ีจะสามารถทําความเขาใจในเร่ืองระบบเสียงไดงายและ รวดเร็วย่ิงข้ึน ไดพยายามแปลคําศัพททางเทคนิคโดยอาศัยคําแปลจาก "หนังสือศัพทเทคนิควิศวกรรมไฟฟาส่ือสารและศัพทเทคนิควิศวกรรมไฟฟาอิเล็กทรอนิกส”ของวิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภเปนมาตรฐานแตมคำแปลบางคําที่กระผมเขียนทับศัพทจาก ภาษาอังกฤษ เพราะอาจจะทาํ ใหทานผูอานเขาใจไดงายกวา หากทานผูอานมีขอแนะนําประการใด ขอไดโปรดแจงใหทราบดวย เพ่ือการแกไขในโอกาส ตอไป ขอขอบคุณผูเก่ียวของทุกทานที่ให้กำลังใจและชวยเหลือจนหนังสือเล่มนี้สําเร็จได ดวยดี

สารบัญ
คูมือการออกแบบระบบเสียง
........................................................................................................................0.0
บทนํา............................................................................................................................................................................1

ระบบเสียง – ทฤษฎี
1.0 ทฤษฎีทั่วไป............................................................................................................................3

2.1 เสียงพูด (Speech) ..................................................................................................................................................7

1.1.1 ไดนามิกเรนจ (Dynamic range)............................................................................................................................8

เสียงเพลงหรอื เสียงดนตรี(Music)...............................................................................................................................9

.         1.2.1  ไดนามิกเรนจ (Dynamic range)...................................................................................................................9 


.         1.2.2  ความถี่ของเสียงเพลง .................................................................................................................................11 


เสียง (Sound)...............................................................................................................................................................12

.         1.3.1  คุณสมบัติการไดยินของหู...........................................................................................................................12 


.         1.3.2  ตัวถวงน้ําหนกั (Weighting) ......................................................................................................................14 


.         1.3.3  ระดับความดนั เสียง (Sound Pressure level)..............................................................................................14 


การแพรกระจายของเสียงในอากาศ (Sound propagation in air)..............................................................................15

.         1.4.1  ความเร็วของเสียง (Velocity of sound) .....................................................................................................15 


.         1.4.2  การดูดซึมของอากาศ (Air Absorption)....................................................................................................16 


.         1.4.3  ความชื้น (Humidity) ...............................................................................................................................16 


.         1.4.4  ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time)...................................................................................16 


เครื่องหมายเดซิเบล (Decibel Notation)...................................................................................................................18

คาํ นิยาม.....................................................................................................................................................................18

.         2.1.1  คุณสมบัติลอการิทึม (Logarithmic characteristic) ของหูของคน..............................................................18 


.         2.1.2  อัตราสวนกําลงั (Power Ratio)..................................................................................................................19 


.         2.1.3  อัตราสวนแรงดัน (Voltage Ratio) ............................................................................................................20 


.         2.1.4  คาอางอิงของ dB .......................................................................................................................................21 


2.2 การคํานวณ............................................................................................................................................................23

2.2.1 การบวกและการลบ dB......................................................................................................................................23

3.0 คําถามเบ้ืองตน เก่ียวกับการออกแบบระบบเสียง..................................................................................................26

5.0 อุปกรณที่ใชในการออกแบบระบบเสียง ................................................................................................................28

ไมโครโฟน (Microphone)
ไมโครโฟน (Microphone) ...............................................................................................28

การเลือกใชไมโครโฟน (Microphone).........................................................................................................................28

ชนิดของไมโครโฟน ....................................................................................................................................................29

.         5.2.1  แบบอิเล็กทรอไดนามิก (Electrodynamic) .................................................................................................29 


.         5.2.2  แบบคอนเดนเซอร (Condenser).................................................................................................................29 


.         5.2.3  แบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต (Back plate electret)..........................................................................................30 


.         5.2.4  แบบอิเล็กเทรต (Electret)............................................................................................................................31 

รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟน(Pick-upresponsepatterns)..........................................................32

.         5.3.1  แบบรอบทิศทาง (Omnidirectional).............................................................................................................34 


.         5.3.2  แบบคารดิออยด (Cardioid).........................................................................................................................34 

5.3.3ไฮเพอรคารดอิอยด(Hyper-cardioid).....................................................................................................................35

ไมโครโฟนพิเศษแบบอ่ืนๆ............................................................................................................................................37

.         5.4.1  ไมโครโฟนแบบหอยคอหรอื แบบหนีบเสอื้ (Lavalier หรือ Lapel microphone).........................................37 


.         5.4.2  ไมโครโฟนแบบตัดเสียงรบกวน (Noise canceling microphone).................................................................37 


.         5.4.3  ไมโครโฟนแบบไรสาย (Radio หรือ Wireless microphone) .......................................................................38 


คุณสมบัติทางเทคนิคของไมโครโฟน...........................................................................................................................39

.         5.5.1  สภาพทิศทาง (Directivity) .........................................................................................................................39 


.         5.5.2  ความไว (Sensitivity) .................................................................................................................................40 


.         5.5.3  ขอแนะนําในการติดต้ัง...............................................................................................................................40 


เทคนิคการใชไมโครโฟน .............................................................................................................................................41

6.0ลําโพง (Loudspeaker)
ลําโพง (Loudspeaker) ......................................................................................................43

ชนิดของลําโพง ...........................................................................................................................................................43

.         6.1.1  ตูลําโพงมาตรฐาน (Standard loudspeaker cabinet) ....................................................................................43 


.         6.1.2  ลําโพงติดเพดาน (Ceiling loudspeaker)......................................................................................................44 


.         6.1.3  ลําโพงซาวดคอลัมน (Sound columns) ......................................................................................................47 


.         6.1.4  ลําโพงฮอรน (Horn loudspeaker)...............................................................................................................49 


.         6.1.5  ลําโพงกําลังสูงแบบฟูลเรนจ (Full range high power loudspeaker)...........................................................49 


การตอพวงและการแมตช (Match) ลําโพงเขากับเครื่องขยายเสียง............................................................................51

.         6.2.1  การตอพวงโดยตรงกับขาออก (Output) ของเครื่องขยายเสียงที่มี 
อิมพีแดนซ (Impedance) ตํ่า.................51 


.         6.2.2  การตอโดยระบบ 100 โวลตไลน (Volt line)..............................................................................................51 


ตารางการตอลําโพงและเครอื่งขยายเสียง..................................................................................................................55

ความยาวของสายลําโพงและการตอสายลำ โพง........................................................................................................56

คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพงพื้นฐาน .................................................................................................................58

คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพงคาอื่นๆ....................................................................................................................61

.         6.6.1  ความถี่แรโซแนนซ (Resonance frequency) ............................................................................................61 


.         6.6.2  ความไว (Sensitivity) ...............................................................................................................................61 


.         6.6.3  ประสิทธิภาพ (Efficiency) ......................................................................................................................62 


.         6.6.4  สภาพทิศทาง (Directivity) หรือคา Q......................................................................................................62 


เครื่องขยายเสียงและอุปกรณประกอบสําหรับการประมวลสัญญาณ (Amplifier and Signal processing equipment)

เคร่ืองผสมเสียง (Mixingconsoles)...........................................................................................................................66

เคร่ืองขยายเสียง (Amplifier)....................................................................................................................................69

8.1 เคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier)...............................................................................69

.         8.1.1  สัญญาณขาเขา (Inputs) ...........................................................................................................................69 


.         8.1.2  ตัวปรับควบคมุ เสียงทุมแหลม (Tone control)........................................................................................70 


8.2 เครื่องขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier)..............................................................71

เคร่ืองอีควอไลเซอร (Equaliser)..............................................................................................................................73

9.1 ชนิดของเคร่ืองอีควอไลเซอร (Equaliser types) ..............................................................................................73

.         9.1.1  แบบตัวควบคมุ เสียงทุมแหลมธรรมดา (Basic tone control).................................................................73 


.         9.1.2  แบบตัวกรองผานแถบหรือแบนดพาสฟลเตอร (Band-pass filter).........................................................74 


.         9.1.3  เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริก (Parametric equaliser) ...............................................................75 


.         9.1.4  เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริกทริปเปล Q ฟลเตอร 
(Parametric triple Q-filter).........................75 


.         9.1.5  เครื่องอีควอไลเซอรแบบกราฟฟก (Graphic equaliser) .......................................................................76 


การปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน (Equalisation)....................................................................................................77

.         9.2.1  บทนํา .................................................................................................................................................77 


.         9.2.2  วงรอบการปอนกลับของเสียง (The acoustic feedback loop) ............................................................77 


.         9.2.3  การปอนกลับของเสียงที่เรโซแนนซ (Resonant acoustic feedback)...................................................78 


.         9.2.4  หลักการการปรับเทาหรอื อีควอไลเซชัน (Principles of equalisation)................................................79 


.         9.2.5  วงรอบการปรับเทาหรือลูปอีควอไลเซชัน (Loop equalisation) ..........................................................81 


.         9.2.6  การปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของลําโพง (Loudspeaker equalisation)..............................................82 


9.2.7 การปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของลําโพงและวงรอบการปรับเทาหรือ ลูปอีควอไลเซชัน (Loudspeaker

equalisation and Loop equalisation) ....................................................................................................................83

10.0 เครื่องไทมดีเลย(Timedelay)........................................................................................................................84

11.0 เครื่องบีบอัดและเคร่ืองจํากัดขนาด(Compressor&Limiter).......................................................................86

11.1 เคร่ืองบีบอัด (Compressor)..........................................................................................................................86

11.2 เครื่องจํากัดขนาด (Limiter)..........................................................................................................................87

12.0 เครื่องควบคุมระดับความดงัอัตโนมัติ(Automaticvolumecontrol)..............................................................88

13.0 คุณสมบัติทางเทคนิคของเคร่ืองขยายเสียงและอุปกรณประกอบ..................................................................90

13.1 คุณสมบัติทางเทคนิค(Specification)............................................................................................................90

.         13.1.1  ผลตอบสนองความถี่ (Frequency response) .....................................................................................90 


.         13.1.2  แบนดวิดทของกําลัง (Power bandwidth)...........................................................................................91 


.         13.1.3  ความเพี้ยนเชิงเสน (Linear distortion) ..............................................................................................91 


.         13.1.4  ความเพี้ยนไมเชิงเสน (Non linear distortion) หรือ การขริบ (clipping) หรือ ความเพี้ยน

เชิงฮารมอนิกทั้งหมด (Total harmonic distortion) หรือ THD..............................................................................91 


.         13.1.5  กําลังขาออกที่ระบุ (Rated output power)..........................................................................................92 


.         13.1.6  กําลังขาออกที่ถูกอุณหภูมิจํากัด (Temperature Limited output power, TLOP).................................93 


13.2 การปรับระดับสัญญาณในระบบ(Adjustingsignallevelsinasystem)...........................................................94

13.2.1 ไมโครโฟน(Microphone)...........................................................................................................................94

13.2.2 อุปกรณประกอบสําหรับการประมวลสัญญาณ (Signal processing equipment).......................................94

13.2.3 เคร่ืองขยายเสียง (Amplifier)......................................................................................................................94

13.2.4 ลําโพง (Loudspeaker)................................................................................................................................95

13.2.5 เคร่ืองควบคุมความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control)....................................................................95

วิธีติดตั้งอุปกรณฮารดแวร (Hardware installation)

14.0 ระบบสายดินหรือกราวดและระบบสกรีน(Groundingandscreening).......................................................97

14.1 ระบบความปลอดภัยและระบบสายดนิ หรือกราวด(Safetyandsystem’searth).........................................97

14.1.1 ระบบสายดินหรือกราวด (Earthing or Grounding)..................................................................................97

14.1.2 กราวดลูป (Ground loop) ........................................................................................................................98

14.1.3 กราวดลูปของไมโครโฟน(Microphonegroundloop)................................................................................100

14.2 การแทรกสอดของสัญญาณจากคล่ืนวิทยุหรือแรงดันไฟฟาเมน  (Radio and main born interference)...102

14.2.1การปองกันสัญญาณแทรกสอด(Preventionofinterference)......................................................................103

.         14.2.2  สัญญาณแทรกสอดท่ีเกิดจากสาย(Interferenceintroducedviacables)..............................................104 


.         14.2.3  สัญญาณแทรกสอดท่ีเกิดภายในตแู ร็ก (Rack)
(Interference introduced inside rack unit)...............105 


.         14.2.4  สัญญาณแทรกสอดที่เกิดการเหนี่ยวนําจากสายลําโพงแบบ 100 โวลตไลน ....................................105 


14.3 ตูแร็ก(Rack)ขนาดมาตรฐาน19นิ้ว(Standard19inchesrackunit)............................................................105

การคํานวณทางอะคูสตกิ (Acoustical calculation)

15.0 การคํานวณทางอะคูสติก(Acousticalcalculation)....................................................................................107

16.0 การคํานวณระบบเสียงสําหรบั สภาพแวดลอ มภายนอกอาคาร(Outdoorenvironment).........................108

16.1 คุณสมบัติทางเทคนิค................................................................................................................................108

16.1.1 กําลัง (Power).........................................................................................................................................108

16.1.2 สภาพทิศทาง(Directivity)......................................................................................................................109

16.1.3 การลดทอนระดับความดังเนื่องจากระยะทาง (Attenuationduetodistance)............................................111

16.1.4 การเปลี่ยนแปลงทั้งระยะทางและกําลัง (Variations of both distance and power) ................................112

16.1.5 การหักเห (Refraction) ..........................................................................................................................113

16.1.6 การสะทอน (Reflection)........................................................................................................................113

16.1.7 เสียงรบกวนจากสภาพแวดลอ มโดยรอบ (Ambient noise) ..................................................................114

17.0 การคํานวณระบบเสียงสําหรับสภาพแวดล้อมภายในอาคาร (Indoorenvironment)...............................115

17.1 คุณสมบัติทางเทคนิค...............................................................................................................................115

.         17.1.1  การสะทอนและการดูดซึม(Reflectionandabsorption).................................................................116 


.         17.1.2  ความกองสะท้อน (Reverberation)...............................................................................................117 


.         17.1.3  ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 ...................................................117 


.         17.1.4  การคํานวณสนามเสียงทางตรงและสนามเสียงของการสะทอน
(Direct and Reflected sound field).................................................................................................................................................121 


.         17.1.5  การคํานวณสนามเสียงกองสะทอน (Reverberation sound field).................................................123 


.         17.1.6  การคํานวณอตั ราสวนเสียงท่ีถึงกอนตอเสียงที่ถึงทีหลัง (Early/late ratio) ..................................124 


.         17.1.7  ดัชนีการสงผานของเสียงพูด(Speech transmission index) หรือ STI และ 
ดัชนีการสงผาน

ของเสียงพูดแบบเร็ว (Rapid speech transmission index) 
หรือ RASTI ...........................................................127 


.         17.1.8  ความหมายของ % ALcons และ RASTI ......................................................................................133 


.         17.1.9  การแปลง RASTI เปน % ALcons................................................................................................134 


18.0 การออกแบบระบบเสียง............................................................................................................................135

18.1 การจัดวางตําแหนงและการครอบคลุมพื้นที่ของลําโพง (Loudspeaker placement and coverage)........135

18.2 สรุปวิธีการออกแบบลําโพง.......................................................................................................................137

18.3 ความชัดเจนของการไดยินเสียงพูดในโบสถและหองอเนกประสงค.........................................................139

.         18.3.1  โบสถขนาดเล็กที่มีเสียงกองสะทอนต่ํา
(Small reverberant traditional church building)...............140 


.         18.3.2  โบสถขนาดใหญที่มีเสียงก้องสะทอนสูง 
(Large reverberant monumental cathedral) ..................140 


.         18.3.3  หองออดิทอเรี่ยมขนาดเล็กที่มีเพดานต่ํา (Small low ceiling auditorium) ......................................141 


18.3.4หองออดิทอเรี่ยมขนาดใหญท่ีมีเพดานสูง (Largehighceilingauditorium)................................................141

18.3.5หองออดิทอเรี่ยมขนาดกวางที่มีเพดานต่ํา(Widelowceilingauditorium)...................................................142

18.3.6 ระบบเสียงท้ังหมดสําหรับโบสถ (The total sound system chain for church)..........................................142

18.3.7 การทํานายและคํานวณคุณสมบัติของระบบเสียงในโบสถ (Predicting&calculatingthe

performanceofthechurchsystem..........................................................................................................................143

18.4 การคํานวณระบบ........................................................................................................................................144

18.4.1 การคํานวณระบบเสียงในหองท่ีมีเพดานสูง เชนหองแสดงนิทรรศการขนาดใหญ  (Large exhibition hall) ......144

18.4.2 การคํานวณระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต (Sound reinforcement system calculation) และ EASE

(Electro Acoustic Simulator for Engineer) ..........................................................................................................146

19.0 ภาคผนวก(Appendix)...................................................................................................................................150

19.1 นิยาม(Definitions).........................................................................................................................................150

19.2 สัญลักษณและหนวย(Symbols&units).........................................................................................................152

19.3 สูตร(Formulas)............................................................................................................................................155

19.4 ขอมูลและกราฟที่เปนประโยชน....................................................................................................................157

20.0 ตารางสัมประสิทธการดูดซึมของวัสดตุ างๆ.................................................................................................160

21.0 ตัวอยางการประยุกตใช (Application Note).................................................................................................163

1.0 ชุดแปลภาษา1ภาษา..........................................................................................................................................163

สารบัญรูปภาพ

รูปท่ี1รูปแบบของตนกําเนดิ เสียง.............................................................................................................................4

รูปที่2การแพรกระจายของคลื่นจากแหลงกําเนิดเปนจดุ (Pointsource)....................................................................4

รูปที่ 3 ระดับความดังของเสียงเทียบกับความถ่ี .......................................................................................................7

รูปท่ี4ไดนามกิ เรนจ(Dynamicrange)ของเสียงพูด....................................................................................................8

รูปท่ี5ไดนามกิ เรนจ(Dynamicrange)ของเสียงเพลง................................................................................................10

รูปที่ 6 ความถ่ีของเสียงเพลง ..................................................................................................................................11

รูปท่ี 7 เสนแสดงรูปรางของระดับเสียงที่เทากัน (Equal Loudness Contours) .......................................................13

รูปท่ี 8 เสนโคงตัวกรองแบบตัวถวงนํ้าหนัก A(A-Weighting)................................................................................14

รูปที่ 9 แสดงระดับเสียงจากต้นกำเนิดเสียงต่างๆ เมื่อเทียบกับ db(SPL)................................................................ 1 4

รูปท่ี 10 วิธีการตรวจคุณสมบัติลอการิทึมของหู.....................................................................................................18

รูปท่ี 11 ตารางเปรียบเทียบอัตราสวนกําลงั กับ dB ................................................................................................19

รูปท่ี 12 ตารางเปรียบเทียบอัตราสวนแรงดันกับ dB .............................................................................................20

รูปท่ี 13 การบวกและการลบระดับสัญญาณเปน dB..............................................................................................25

รูปท่ี 14 ไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic microphone)...................................................................................29

รูปท่ี 15 ไมโครโฟนท่ีมีความไวตอการรับเสียงรอบทิศทาง..................................................................................32

รูปท่ี 16 รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟน...............................................................................33

รูปท่ี17รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟนแบบคารด ิออยด(Cardioid).....................................34

รูปที่ 18 รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟนแบบ ไฮเพอรคารดอิ อยด (Hyper-cardioid microphone).....36

รูปที่ 19 วิธีวางไมโครโฟนทางดานหนาของผูพูด..............................................................................................41

รูปท่ี 20 กลองหรือตูลําโพง ..............................................................................................................................43

รูปท่ี 21 ลําโพงติดเพดาน .................................................................................................................................44

รูปที่ 22 การเปลี่ยนแปลงระดับ (Level variation) ท่ีคาตางๆ...........................................................................46

รูปที่ 23 ลําโพงซาวดคอลัมน (Sound column)................................................................................................47

รูปที่24คุณสมบัติทางเทคนคิ ของลําโพงซาวดคอลัมนประเภทคารดิออยด (Cardioid sound column) ..........48

รูปท่ี 25 ลําโพงฮอรน (Horn)...........................................................................................................................49

รูปท่ี 26 ลําโพงกําลังสูงแบบฟูลเรนจ (Full range high power loudspeaker)..................................................50

รูปท่ี 27 ลําโพงฮอรนรวมกบั ลําโพงกรวย......................................................................................................50

รูปที่28การตอพวงลําโพงเขากับเคร่ืองขยายเสยี งแบบอิมพีแดนซ(Impedance)ต่ํา.........................................51

รูปที่ 29 การตอพวงลําโพงในระบบ 100/70/50 โวลตไลน (Volt line) ...........................................................52

รูปที่ 30 การตอพวงลําโพงกับเครื่องขยายเสียงโดยใช้แมตชิงทรานสฟอรเมอรแบบตางๆ.............................53

รูปที่ 31 ความยาวสายลําโพงสูงสุดตามขนาดสาย.........................................................................................56

รูปที่ 32 ลําโพงจํานวน2ตัวอยูใกลกนั ระดับความดนั เสียงเพ่ิมขึ้น6dB.........................................................58

รูปที่ 33 ลําโพงจํานวน2ตัวอยูหางจากกันระดับความดนั เสียงเพ่ิมข้ึน3dB...................................................59

รูปที่34การลดทอนของระดับความดนั เสียงเม่ือระยะทางเพิ่มข้ึน................................................................59

รูปที่ 35 แผนภาพโพลาร (Polar diagram) ของลําโพงที่แสดงระดับความดันเสียง ในหนวยของ dB (SPL) ที่ความถ่ีตางๆ กัน ......60

รูปที่36ตัวประกอบสภาพทศิ ทาง(Directivityfactor)ที่ความถ่ีตางๆ............................................................62

รูปที่ 37 รูปแบบมาตรฐานของคุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพง..................................................................63

รูปที่ 38 ขอบเขตความถี่ท่ีมีผล (Effective frequency range) ......................................................................64

รูปที่ 39 เสียงรบกวนแบบพเิ ศษที่ใชทดสอบลําโพงตามมาตรฐาน IEC268-3............................................65

รูปท่ี 40 เคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier)............................................................66

รูปท่ี 41 เครื่องผสมเสียง (Mixing consoles)...............................................................................................67

รูปที่ 42 ระบบเสียงรีอินฟอรซ เมนต (Sound reinforcement system) ในหองออดิทอเรียม (Auditorium) ....68

รูปที่ 43 การควบคุมเสียงทุมแหลม (Tone control) .......................................................................................70

รูปที่ 44 เครื่องขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier) แบบตางๆ ............................72

รูปที่ 45 การควบคุมเสียงทุมแหลม (Tone control) .......................................................................................74

รูปท่ี 46 การควบคุมแบบแบนดพาสฟลเตอร (Band-pass filter) ...................................................................74

รูปที่ 47 การควบคุมแบบพาราเมตริก (Parametric equaliser) .......................................................................75

รูปที่ 48 การควบคุมแบบพาราเมตริกทริปเปล Q ฟลเตอร (Parametric triple Q-filter)........................... ......75

รูปท่ี 49 การควบคุมแบบกราฟฟก (Graphic equalisation).................................................................. .........76

รูปท่ี 50 วงรอบการปอนกลบั ของเสียง(Theacousticfeedbackloop).......................................................  .....78

รูปที่ 51 ผลตอบสนองความถี่ของระบบ ........................................................................................................79

รูปที่ 52 ผลตอบสนองความถี่ของอีควอไลเซชัน ...........................................................................................80

รูปท่ี 53 ผลตอบสนองความถี่ของระบบหลังอีควอไลเซชัน...........................................................................80

รูปท่ี 54 วงจรการทดสอบวงรอบการปรับเทาหรือลูปอีควอไลเซชัน (Loop equalisation) ............................81

รูปที่ 55 วงจรการทดสอบการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของลําโพง (Loudspeaker equalisation)................82

รูปที่ 56 เสียงที่ออกจากลําโพงโดยไมใ ชเคร่ืองไทมดีเลยประวิง เวลา ............................................................85

รูปท่ี 57 เสียงท่ีออกจากลําโพงโดยใชเ ครื่องไทมดีเลยประวิงเวลา.........,,,,,,,,,,,,,,,,.........................................85

รูปที่ 58 กราฟของเครื่องบีบอัด (Compressor) ..............................................................................................86

รูปที่ 59 กราฟของเครื่องจํากัดขนาด (Limiter)..............................................................................................87

รูปท่ี 60 ผลตอบสนองความถ่ีที่ราบ (Flat frequency response) ...................................................................90

รูปท่ี 61 ระดับสัญญาณขาเขาท่ีสูงเกินไปของเคร่ืองขยายเสียง .....................................................................91

รูปท่ี 62 กราฟของคายอดสูงสุดเทียบกับคาเฉล่ีย..........................................................................................92

รูปที่ 63 การตอระบบสายดินหรือกราวด์ทั้ง 3 แบบ.....................................................................................98

รูปท่ี 64 วิธีการตอระบบสายดินหรือกราวดของแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage).....................................99

รูปที่ 65 การตอไมโครโฟนชนิดแกนเดียว....................................................................................................100

รูปท่ี 66 การตอไมโครโฟนชนิดสองแกน.....................................................................................................100

รูปที่ 67 การตอไมโครโฟนชนิดสองแกนและเคเบิลทรานสฟอรเมอร .........................................................101

รูปท่ี 68 การตอลงกราวดเมอื่ ตอพวงอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆเขาดวยกัน..............................................101

รูปที่ 69 การสกรีนหรือหอหุ้ม (Screening) ตูแร็ก (Rack) ขนาดมาตรฐาน19นิ้ว..........................................104

รูปที่ 70 วิธีการเดินสายแบบตางๆ เพื่อปองกันสัญญาณแทรกสอดที่เกิดจากสาย ........................................104

รูปท่ี 71 ตูแร็ก (Rack) ขนาดมาตรฐาน 19 น้ิว (Standard 19 inches rack unit).............................................106

รูปที่ 72 ตารางเปรียบเทียบกําลังกับระดับความดัง dB ................................................................................108

รูปท่ี 73 กราฟของการเปรียบเทียบอัตราสวนกําลังกับ dB ..........................................................................109

รูปที่ 74 ตัวอย่างการติดต้ังไมโครโฟนและลําโพงโดยไมเกิด การปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback)

หรือเสียงหอน (Howl) ................................................................................................................................110

รูปท่ี 75 ตารางเปรียบเทียบระยะทางกับ dB ...............................................................................................111

รูปท่ี 76 กราฟของการเปรียบเทียบระยะทางกับ dB ...................................................................................112

รูปที่ 77 การหักเห (Refraction) หรือการหักโคง (Bending) ของเสียง.........................................................113  

รูปที่ 78 กราฟของระดับเสียงในสนามเสียงทางตรง (Direct field) และ สนามเสียงของความกองสะทอน

(Reverberant field) ....................................................................................................................................115

รูปที่ 79 ผลของความกองสะทอน (Reverberation)...................................................................................117

รูปที่ 80 คาระยะเวลาความกอ งสะทอนของหองแบบตางๆ โดยข้ึนอยกู ับปริมาตรทั้งหมดของหอง........119

รูปท่ี 81 สนามเสียงทางตรงและสนามเสียงของการสะทอน (Direct and reflected sound field)................121

รูปท่ี 82 เสียงที่มีประโยชนแ ละเสียงที่นําพาการรบกวน...........................................................................121

รูปที่ 83 กราฟของความชัดเจนของการไดย ินเสียงพูด (Speech intelligibility) ดัชนีการสงผานของเสียงพูด(Speechtransmissionindex)หรือSTI.....................................................................................................126

รูปท่ี 84 ความหมายของ %ALcons และ RASTI.......................................................................................133

รูปท่ี 85 การแปลง RASTI เปน % ALcons ..............................................................................................134

รูปท่ี 86 การติดต้ังลําโพงสําหรับระบบเสียงในหองที่มีเพดานสูง.............................................................144

รูปที่ 87 รูปรางของหองและการติดตั้งลําโพง ..........................................................................................146

รูปที่ 88 ลํา (Beam) ของเสียง (3 & 6 dB) จากลําโพง...............................................................................147

รูปที่ 89 กราฟของความชัดเจนของการไดย ินเสียงพูด (Speech intelligibility) ดัชนีการสงผานของเสียงพดู (Speechtransmissionindex,STI)

และดัชนกี ารสงผานของเสียงพูดแบบเร็ว(Rapidspeechtransmissionindex,RASTI).............................148

รูปที่ 90 ผลจากการใชซอฟตแวรประยุกต EASE แสดงผลความชัดเจนของการไดยินเสียงพูด

(Speech intelligibility) ดวยคา STI ท่ีความถ่ี 1,000 Hz..........................................................................149

คูมือการออกแบบระบบเสียง

              หนังสือคูมือการออกแบบระบบเสียงเลมนี้จะกลาวถึงวิธกี ารออกแบบระบบเสียงโดยนําอุปกรณ ตางๆที่ใชในระบบเสียงเช่นไมโครโฟน (Microphone) อุปกรณประกอบสําหรับการประมวล- สัญญาณ (Signal processing equipment) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) และ ลําโพง (Loudspeaker) มาประกอบรวมกันเปนระบบ เพื่อขยายเสียงพูด เสียงเพลงหรือเสียงดนตรี โดยอาศัยวิธีการทาง สวนศาสตรไฟฟา (Electro-acoustic means) หรือ อิเล็กทรออะคูสติก (Electro-acoustic) ทําใหผูฟง สามารถรับรูขอมูลขาวสารท่ีถูกตองจากการฟงเสียงที่มคี วามดัง(Loudness)และความชัดเจนของ การไดยินเสียง(Intelligibility) เราสามารถแบงวิธีการใชงานของระบบเสียงไดดังนี้


1. ระบบเสียงสาธารณะ(Publicaddresssystem)

ออกแบบมาเพื่อใชงานกระจายเสียงพูด

ขอมูลเสียงที่มีการบันทึกไวก อนสัญญาณเสียงพิเศษเชนเสียงเตือนกอนประกาศหรือ เสียงเตือนภัย และเสียงเพลงพื้นหลัง หรือเสียงเพลงแบ็กกราวด (Background music) จากแหลงกําเนิดเสียงหลายๆ แหลง ไปยังพื้นที่ตางๆ ที่ไดเลือกจัดสรรไว สวนใหญ แลวจะมีระยะทางหางจากแหลงกาํ เนิดเสียง ตัวอยางการใชงาน เชน โรงแรม ภัตตาคาร สถานีรถไฟ สนามบิน โรงงาน แทนเจาะนา้ํ มัน อาคารสํานักงาน โรงเรยี น หางสรรพสินคาเรือหองนทิ รรศการเปนตน

2. ระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต(Soundreinforcementsystem)ออกแบบมาเพื่อใชงาน ในการถายทอดเสียงพูดหรือเสียงเพลงหรือเสียงดนตรี สําหรับผูฟงจํานวนมาก โดยปกตแิ ลว ผูฟงจะอยใู นหองหรือพ้ืนทเี่ ดียวกบั แหลงกําเนิดเสยี ง ตวั อยางการใชงาน เชน โบสถ หองเรียน หองประชุมตางๆ เปนตน

     

0.0 บทนํา

  

1 อุปกรณตางๆที่ใชงานในระบบเสียงมีหลกั การทํางานคราวๆดังนี้
1. ไมโครโฟน(Microphone)เปนอุปกรณทเี่ปลี่ยนแปลงเสยีงที่เกิดจากการสั่นสะเทือน ของอากาศมาเปนสัญญาณไฟฟา
2. อุปกรณประกอบสําหรับการประมวลสัญญาณ(Signalprocessingequipment)เปน อุปกรณประมวลสัญญาณที่ตกแตงและชดเชยสัญญาณจากแหลงกําเนดิ เสียงหรือ สภาพแวดลอมที่มีปญหา
3. เครื่องขยายเสียง(Amplifier)เปนอุปกรณท ่ีขยายระดับสัญญาณใหเพียงพอกับ จํานวนลําโพง ที่เปนโหลด (Load) ของเคร่ืองขยายเสียง และ
4. ลําโพง (Loudspeaker) เปนอุปกรณที่เปลยี่ นแปลงสัญญาณไฟฟามาเปน เสียง ลําโพง เปนอุปกรณทมี่ ีผลตอการออกแบบระบบเสียงมากสามารถบงบอกถึงคุณภาพของการ ออกแบบได

หนังสือคูมือการออกแบบระบบเสียงเลมนี้ จะชวยเหลือผูออกแบบใหเขา ใจวิธีออกแบบ ขอมูล และ คุณสมบัติทางเทคนิคของอุปกรณตางๆ ที่ใชในระบบเสียง ตามหลักวิชาวิศวกรรมระบบเสียง (Audio engineering) ไดเปนอยางดี

2 ระบบเสียง – ทฤษฎี

การออกแบบระบบเสียงที่ดี มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประโยชนสูงสุด ผูออกแบบตอง เขาใจรายละเอยี ดตางๆ ที่เกยี่ วของกับระบบเสียง เชน การทํางานของอุปกรณตางๆ ทใี่ ชในระบบ เสียงแตละชนดิ การเดินทางและความดังของเสียงความชัดเจนของการไดยินเสยีงและ สภาพแวดลอมเพื่อใหผูพดู สามารถสงขาวสารและขอมลู ถึงผูฟงไดอยางถูกตอง

เสียงท่ีหูคนฟงไดยินนั้นมีความถี่20-20,000เฮิรตซหรือHz(ตัวอยางเชนเสียงที่เกดิ จาก การสีไวโอลิน เสียงที่เกิดจากการทุบของคอนบนสายเปย โน เสียงท่ีเกดิ จากการสั่นสะเทือนของ กรวยลําโพง เปนตน) เสยี งเปนคลื่นตามยาวเกดิ จากการส่ันสะเทือนของวัตถุที่มีลักษณะยืดหยนุ เชนน้ําอากาศและของแขง็ เสียงมีคุณสมบัติการสะท้อนการหักเหการแทรกสอดและ การเลี้ยวเบน

การสั่นสะเทือนของวัตถุทําใหอนุภาคตัว กลางมีการเคลื่อนไหว เกิดห่วงโซของการสงตอพลังงาน แกอนุภาคขางเคียง โดยเกิดเปนสวนอัดและสวนขยาย ตัวอยางเช่นเสียงที่เกิดจากแหลงกําเนิดเสียง ตางๆ สามารถเดินทางและสงผานพลังงานในตัวกลางอากาศ ที่เกิดจากการขยายตัวและการหดตัวของอากาศ

จากรูปที่ 1 เราสามารถกําหนดรูปแบบของแหลงกําเนิดเสียงได 3 ลักษณะ ดังนี้


1. คลื่นทรงกลม (Spherical wave) ที่กําเนดิ จากแหลงกําเนิดเปนจุด (Point source) มีการ แพรกระจายของคลื่นรอบทิศทางการลดทอนของระดบั สัญญาณแปรผันตาม

ระยะทางยกกาํ ลังสอง (r2)
2. คล่ืนทรงกระบอก (Cylindrical wave) ที่กําเนิดจากแหลงกําเนิดเปนเชิงเสน

(Line source) การลดทอนของระดับสัญญาณแปรผันตามระยะทาง (r1)
3. คลื่นระนาบ (Plane wave) ที่กําเนิดจากแหลงกําเนิดเปน ระนาบ (Plane source)

การลดทอนของระดับสัญญาณไมแปรผันตามระยะทาง (r0)

     

1.0 ทฤษฎีทั่วไป

  

3

     

รูปที่1รูปแบบของตนกําเนดิ เสียง

รูปที่2การแพรกระจายของคลื่นจากแหลงกําเนิดเปนจดุ (Pointsource)

    

4

เพื่อความสะดวกในการคํานวณสําหรับกรณีที่ระยะทางที่ใชคํานวณมคี ามากกวาขนาดของ แหลงกําเนิดและความยาวคลื่นมากๆ (r >> source dimensions >> wavelength) เราจะคํานวณ คาการลดทอนของระดับสัญญาณแบบคลื่นทรงกลม (Spherical wave) ที่แปรผันตามระยะทาง- ยกกําลังสอง(r2)เปนการลดทอนของระดบั สัญญาณแบบคลื่นระนาบ(Planewave)ที่ไมแปรผัน ตามระยะทาง(r0)เราสามารถสังเกตไดจากรูปที่2ที่แสดงการแพรก ระจายของคลื่นจาก แหลงกําเนิดเปนจุด (Point source) เมื่อเราพิจารณาคาระยะทางที่หางจากแหลงกําเนิด เชนที่ ระยะทาง 1 เมตร คากําลังของเสียง (W) จะมีคาเทากันหมด แตคาความดันของเสียง (N/m2) หรือ คาความเขมของเสียง (W/m2) จะมีคาลดลงเปนสัดสวนกับระยะทางยกกําลังสอง (r2)

เสียง (Sound) ที่อางอิงถึงในหนังสือคูมือการออกแบบระบบเสียงเลมนี้ โดยรวมแลวประกอบดว ย เสียงพูด (Speech) เสียงเพลงหรือเสียงดนตรี (Music) สัญญาณเตือนภัย (Alarm signals) หรือ สัญญาณเตือนกอนประกาศ (Attention tones)

เม่ือเราเปลี่ยนเสียงเปนสัญญาณไฟฟา เราจะตองกําหนดขีดจํากัดของไดนามิกเรนจ (Dynamic range) ผลตอบสนองความถ่ี (Frequency response) ความชัดเจนของการไดยินเสียง (Intelligibility)และคณุ ภาพที่เหมือนจริง(Naturalquality)ของเสียงดวยสําหรับขีดจํากัดของ ไดนามิกเรนจ(Dynamicrange)เราจะตองใหความสําคญั เปนพิเศษ

ไดนามิกเรนจ(Dynamicrange)มีความหมายที่แตกตางกนั ขึ้นอยูกับขอ กําหนดตางๆดังน้ี

1.    ในสวนของเสยี งอะคูสติก (Acoustic) หมายถึงระดับเสยี งที่คอยที่สุดถึง 
ระดับเสียงที่ดงั ที่สุด 


2.    ในสวนของเสยี งเพลงหรือเสยี งดนตรี (Music) หมายถึงความแตกตางระหวาง 
การใหเลนเสียงเบานุมนวล(Pianissimo)กบั การใหเลนเสียงดังเต็มท่ี(Fortissimo) 


3.    ในสวนของวศิ วกรรมระบบเสียง (Sound engineering) หมายถึงความแตกตางระหวา ง คายอดที่ข้ึนสงู สุดอยางบังเอญิ (Maximum incidental peak value) กับคาตํ่าสุดของ 
สัญญาณไฟฟา ท่ีเปล่ียนแปลง (Minimum value of converted electrical signal) 


5

เราสามารถใชเครื่องมือวัดชนิดตางๆ เชน เครื่องออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) เครื่องวัดระดับ คายอด (Peak level meter) วียูมิเตอร (VU-meter) วิเคราะหระดับเสยี งตา งๆ ท่ีมีเวลารวม (Integrationtime)แตกตางกนั ดังน้ี

ประกาย (Sparks)

 

เวลารวม (Integration time) 0ms

เครื่องออสซิลโลสโคป ที่มีจอแบบมี หนวยความจํา (Oscilloscope with memory screen)

คายอด (Peak)

 

เวลารวม (Integration time) <4ms

เครื่องวัดระดบั คายอด (Peak level meter) บน เครื่องผสมเสียง (Mixing desk)

เร็ว (Fast)

คาเฉลี่ยเวลาสั้น (Short time average)

เวลารวม (Integration time) 125 ms

เครื่องวัดระดบั เสียง (Sound level meter) หรือ SLM

วียู (VU)

 

เวลารวม (Integration time) 270 ms

วียูมิเตอร (VU- meter)บนเครื่องขยาย เสียง(Amplifier)

ชา (Slow)

 

เวลารวม (Integration time) 4ms

เครื่องวัดระดบั เสียง (Sound level meter) หรือ SLM

แอลทีเอ (LTA)

คาเฉลี่ยเวลายาว (Long time average)

เวลารวม (Integration time) 30 ms

ใชสําหรับออกแบบการ ระบายความรอ นของ เครื่องขยายเสยี ง (Amplifier)

6

1.1 เสียงพูด (Speech)

เสียงพูด (Speech) เกิดจากถอยคําตางๆ ที่ประกอบดว ยเสยี งสระ และเสยี งพยัญชนะ เสียงพูดมี การเปลี่ยนแปลงคาของความดัง (Loudness) และความถี่ (Frequency) ความแรงของเสยี ง (Voice strength) เปลี่ยนแปลงสเปกตรัมของความถี่ (Frequency spectrum) ในที่นี้สเปกตรัมของความถี่ เสียงจะเปลี่ยนแปลงจากเสียงทุมที่มีความถี่ต่ําจนถึงเสียงแหลมที่มีความถี่สูงตามรูปที่ 3 โดยที่ เสนกราฟตามรูปแสดงระดบั ความดังเฉลยี่ เทียบกับความถี่ท่ีปรากฏอยูในรูปของ 1/3 ออกเทฟ (Octave) หรือ 1/3 ของคูแปด

เสียงสระมีสเปกตรัมของความถี่ (Frequency spectrum) ต่ํากวา 1,000 Hz และคุณสมบัติของ ความดัง(Loudness)เนื่องจากเสียงสระเกดิ จากการออกเสียงของปากที่มีมุมกวางจึงทําใหเกดิ เสียงกองสะทอ น(Reverberation)ตัวอยางสภาพแวดลอมภายในอาคารเสียงจะสะทอ นจากผิวแข็ง เชนผนัง เพดานไดงาย สวนเสียงพยัญชนะมีสเปกตรัมของความถี่ (Frequency spectrum) สูงกวา 1,000 Hz และคุณสมบัติของความฟงชัด (Articulation) หรือ ความชัดเจนในการไดย นิ เสียง (Intelligibility) เนื่องจากเสียงพยัญชนะเกิดจากการออกเสียงของปากท่มี ีมุมแคบ จึงทาํ ใหเกดิ ทิศทาง (Direction)

รูปที่ 3 ระดับความดังของเสียงเทียบกับความถ่ี 7

   

หลักการเบื้องตนของการออกแบบระบบเสียงที่จะกลาวตอไปในหนังสือคูมือการออกแบบ ระบบเสียงเลม นี้คือการใชเทคนิคที่เหมาะสมเพื่อชดเชยและแกปญหาในการถายทอดเสียงในยาน ความถี่เสียงพดู (Speech frequency spectrum) ใหถึงผูฟงโดยไมผิดเพยี้ นและเกดิ ความชัดเจนของ การไดยนิ เสียง(Intelligibility)เน่ืองจากธรรมชาติของเสียงอุปกรณแ ละสภาพแวดลอมสามารถ สรางปญหาตางๆ ในการถายทอดเสียง ทําใหผูฟงไมสามารถฟงและเขาใจถึงขาวสารขอมูลที่ผูพูด ตองการถายทอดได

1.1.1 ไดนามิกเรนจ(Dynamicrange)

  

รูปที่4ไดนามกิ เรนจ(Dynamicrange)ของเสียงพูด

รูปที่ 4 แสดงกราฟของรูปแบบของเสียงพูดเทียบกับเวลา โดยผูพูดพดู หา งจากไมโครโฟนเปน ระยะทางคงที่และวดั โดยใชเครื่องมือวัดทแ่ี ตกตางกนั กราฟมีความหมายดังนี้

เสนโคง 1

เสนโคง 2 เสนโคง 3

แสดงคายอด (Peak value)
ชวงเวลาขึ้น (Rise time) 1 มิลลิวินาที
เวลาลดถอย (Decay time) 2.7 วินาที แสดงคาอารเอ็มเอส (RMS value)
เวลารวม (Integration time) 270 มิลลิวินาที แสดงคาอารเอ็มเอส (RMS value)
เวลารวม (Integration time) 30 วินาที แอลทีเอ (LTA)

8

1.2 เสียงเพลงหรอื เสียงดนตรี (Music)

สําหรับการกระจายเสียงเพลงหรือเสียงดนตรี สิ่งสําคัญ 2 สิ่งที่ควรคํานึงคือ ไดนามิกเรนจ (Dynamic range) และผลตอบสนองความถี่ (Frequency response)

ถาเราจํากัดไดนามิกเรนจ(Dynamicrange)เสียงเพลงหรอื เสียงดนตรีจะคอนขางราบเรียบ ขาดความตื่นเตนเราใจแตห ากเราจํากัดผลตอบสนองความถี่(Frequencyresponse)เชนเราจํากดั เสียงความถี่ต่ําเสียงเพลงหรอื เสียงดนตรีจะขาดเสียงทุมและถาเราจํากดั เสียงความถส่ี ูงเสียงเพลง หรือเสียงดนตรีจะขาดเสียงแหลมหรือขาดฮารมอนิกของเสียง สําหรับเสียงแหลมนี้เปน ปจจยั สําคัญ ในการจําแนกอุปกรณดนตรี เราจะสังเกตไดจาก 2 กรณีนว้ี า เสียงเพลงหรือเสียงดนตรีจะขาด รสชาติมากๆ

1.2.1 ไดนามิกเรนจ(Dynamicrange)
รูปที่ 5 แสดงกราฟที่เปรียบเทียบไดนามิกเรนจ ของเสียงพูดและเสียงเพลงเทียบกับเวลา โดยแสดง

1.    ระดับมาตรคายอด (Peak meter level) 


2.    ระดับมาตรวยี ู (VU meter level) 


3.    ระดับแอลทีเอ (LTA level) 


เราสังเกตไดว า ความแตกตางระหวางระดบั คายอด (Peak level) กับระดับวียู (VU level) มีคาเฉลี่ย ประมาณ 14 dB จากประสบการณทําใหเราทราบวา หูของคนมักจะไมตอบสนองตอคาความเพี้ยน (Distortion) ของคายอดชวงสั้นๆ ดังนั้นการขริบ (Clip) คายอด 6 dB ก็ยังเปนที่พอจะอนุโลมได และการต้ังคา 0 ของมาตรวียู (VU meter) ควรต้ังคา 3 dB ตํ่ากวาคาจํากดั ของความเพย้ี นของ อุปกรณน้ันๆ

9

     

เสนโคง 1

เสนโคง 2 เสนโคง 3

รูปที่5ไดนามกิ เรนจ(Dynamicrange)ของเสียงเพลง

แสดงคายอด (Peak value)
ชวงเวลาข้ึน (Rise time) 1 มิลลิวินาที
เวลาลดถอย (Decay time) 2.7 วินาที แสดงคาอารเอ็มเอส (RMS value)
เวลารวม (Integration time) 270 มิลลิวินาที แสดงคาอารเอ็มเอส (RMS value)
เวลารวม (Integration time) 30 วินาที แอลทีเอ (LTA)

10

1.2.2 ความถ่ีของเสียงเพลง

         

รูปที่ 6 ความถ่ีของเสียงเพลง

11

1.3 เสียง (Sound)

เสียงสงผานพลังงานโดยอาศัยความดนั (Pressure)ที่ทําใหเกิดการขยายตัวและหดตวัของอากาศ ดังน้ันเราจึงวดั คาระดับความดังของเสียงจากการเปล่ียนแปลงของความดัน(Pressure)ของอากาศ เรากําหนดมาตรฐานท่ีใชวดั ระดับความดังของเสียง ที่ตอไปจะเรยี กวาระดับความดันเสียง ดังนี้

มาตรฐานท่ีใชว ัดระดับความดันเสียง จะวัดท่ีความถี่ 1 kHz ท่ีเปนความถกี่ ลางมาตรฐาน โดยที่ Pa = Pascal

= N/m2 หนวยระดับความดันเสยี งคอื dB (SPL)

SPL=ระดับความดนั เสียง(Soundpressurelevel) ระดับของเสียงท่ีคอยท่ีสุดที่คนเริ่มไดยนิ เสียง (Threshold of hearing) เทียบกับระดับความดันเสยี ง คือ

20 μN/m2 = 20 μPa = 2x10-5 Pa
ดังนั้น เรากําหนดวา 20 μPa = 0 dB (SPL) ระดับของเสียงท่ีดังท่ีสุดที่คนไดยนิ เสียงและเริ่มมีอาการเจ็บหู(Thresholdofpain)เทียบกับ ระดับความดนั เสียงคือ

20 Pa = 20 log (20/2x10-5) = 120 dB (SPL)

1.3.1 คุณสมบัติการไดยินของหู ท่ีความถี่1kHzเรากําหนดมาตรฐาน0dB(SPL)เปนระดับของเสียงทค่ี อยท่ีสุดที่คนเริ่มไดยนิ เสียง (Threshold of hearing) และมาตรฐาน 120 dB (SPL) เปนระดับของเสยี งท่ีดังท่ีสุดทคี่ นไดยนิ เสียง และเร่ิมมีอาการเจ็บหู(Thresholdofpain)ระดับของเสียงที่คอยท่ีสุดท่ีคนเร่ิมไดยนิ เสียง (Thresholdofhearing)จะเปน ขีดจํากดั ลางสุดของเสนแสดงรูปรางของระดับของเสียงท่ีเทากัน (Equal Loudness Contours)

หากเราพจิ ารณาเสนกราฟของระดับของเสียงท่ีคอยที่สุดที่คนเร่ิมไดย นิ เสียง (Threshold of hearing) จากรูปท่ี 7 เราสังเกตไดว าระดับความดนั เสียง (Sound pressure level) จะเปล่ียนแปลงไปตาม ความถี่เชนระดับความดนั เสียงที่ความถี่30Hzเราตองเพ่ิมความดังอีก60dB(SPL)เราจึงจะได ความรูสึกที่ดังเทากับระดับความดันเสยี ง 0 dB (SPL) ท่ีความถี่ 1 kHz

12

จากการศึกษา เราจะพบจุดสงั เกตท่ีสําคัญ 2 จุด ดังน้ี

1.    ในระดับความดังท่ีเทากัน เสียงความถ่ีต่ําเชน เสียงทุม (Bass) ตองการพลังงานมากกวา 
เสียงความถ่ีสูงเชนเสียงแหลม (Treble) 


2.    คุณสมบัติการไดยินของหูจะตอบสนองตอเสียงตามภาพกระจกเงาของเสนแสดง 
รูปรางของระดับของเสียงทเี่ทากัน(EqualLoudnessContours)หรือกลาวอีกนยั หนงึ่ เราจะไดยินระดับของเสียงทแี่ ตกตางกนั ขนึ้ อยูกับความถ่ีตัวอยางเชนถามีการสง เสียงรบกวน (Noise) ระดับ 20 dB (SPL) ที่มีสเปกตรัมของความถี่ตลอดยาน (Broad frequencyspectrum)ความรูสึกของผูฟงจะไดยินเสียงเปน ไปตามภาพกระจกเงาของ เสนแสดงรูปรางของระดับของเสียงท่ีเทากนั (Equal Loudness Contours) ที่ระดับ 20dB(SPL)และเมื่อเราเพมิ่ ระดับเสียงรบกวน(Noise)มากข้ึนความรูสึกของผูฟงจะ แตกตางจากความรูสึกท่ีฟงเสียงรบกวน (Noise) เดิม 
รูปท่ี 7 เสนแสดงรูปรางของระดับเสียงที่เทากัน (Equal Loudness Contours) 


  

13

1.3.2 ตัวถวงนํ้าหนกั (Weighting)
ในการจําลองคุณสมบัติการไดยินของหูของคนเคร่ืองวดั ระดับเสียง(Soundlevelmeter)มักจะมี เสนโคงตัวกรอง (Filter curves) หลายๆ แบบ เพ่ือใหสอดคลองกับการไดยินของหูของคน มาตรฐานตัวถว งนํ้าหนักของเสนโคงไดถูกแบงดังน้ี

เสนโคง A (A-Curve)

เสนโคง B (B-Curve) เสนโคง C (C-Curve)

เปนตัวถว งนํ้าหนักทใี่ ชวดั ระดับเสียงท่ีมีคา ต่ํากวา 40 dB (SPL) เครื่องวัดระดบั เสียง(Soundlevelmeter)แบบธรรมดาจะมีแต ตัวถวงนํ้าหนกั เสนโคง A (A-Curve) เพียงอยางเดยี ว การวัดเสียงหรือ อะคูสติก (Acoustic) ในปจจุบันก็จะใชเ ฉพาะแบบตวั ถว งน้ําหนัก A (A-Weighting) เราเรียกหนว ยวัดเสียงนวี้ า dBA (SPL)

เปนตัวถว งน้ําหนักทใี่ ชวดั ระดับเสียงท่ีมีคา ระหวาง 40 กบั 70 dB (SPL) เปนตัวถว งนํ้าหนักทใี่ ชวดั ระดับเสียงที่มีคา สูงกวา 70 dB (SPL)

   

รูปท่ี8เสนโคงตัวกรองแบบตัวถวงนํ้าหนกั A(A-Weighting) 1.3.3 ระดับความดนั เสียง(SoundPressurelevel)

รูปที่9แสดงระดับเสียงจากตนกําเนดิ เสียงตางๆเม่ือเทียบกับdB(SPL) 14

   

1.4 การแพรกระจายของเสียงในอากาศ (Sound propagation in air)

เสียงท่ีเราไดย นิ จากตน กําเนดิ เสียงที่เกดิ จากการส่ันสะเทอื นของวัตถุ เชนกลองเสียง ลําโพง เปนตนเกิดจากการสงผานพลังงานโดยอาศัยความดนั (Pressure)ท่ีทําใหเกิดการขยายตัวและหดตวั ของอากาศ

พารามิเตอร (Parameter) ท่ีสําคัญและเก่ียวของกับการแพรกระจายของเสียงในอากาศ (Sound propagation in air) มีหนวยวัดในระบบสากล (SI) ดังนี้

f=ความถ่ี(Frequency)มีหนวยเปนเฮิรตซ(Hertz)หรอื Hz
v = ความเร็ว (Velocity) มีหนวยเปน เมตรตอวินาที หรือ m/s
λ= ความยาวคล่ืน (Wavelength) มีหนวยเปน เมตร หรือ m
p = ความดัน (Pressure) มีหนวยเปน ปาสคาล (Pascal) หรือ Pa T=อุณหภูมิ(Temperature)มีหนวยเปน เคลวิน(Kelvin)หรือK

1.4.1 ความเร็วของเสียง(Velocityofsound)

ความเร็วของเสียงข้ึนอยูกับอุณหภูมิ

ในภาวะปกติ เราสามารถคํานวณความเรว็ ของเสียงในอากาศไดจากสูตร

__ v=20√T

โดยท่ีTคืออุณหภูมิในหนวยองศาเคลวนิ (Kelvin)และ0°C=273K ดังน้ันที่อณุ หภูมิหอง20°C

____ v=20√293=342.3≈340m/s

ความสัมพันธระหวางความถ่ีความเร็วกบั ความยาวคล่ืนคือ λ =v/f

ตัวอยาง

ที่ความถี่1kHzและอุณหภมู ิหอง20°Cเสียงมีความยาวคลื่นคือ λ =340/1,000=0.340m

ถาอุณหภูมหิ องเพ่ิมขึ้นเปน 30 °C ความเร็วของเสียงจะเพมิ่ ข้ึนเปน 348 m/s ที่ทําให ความถี่มีคาสูงขึ้น ดังน้ี

f = 348/0.340 = 1.02 kHz ดังน้ันความถ่ีจะเล่ือนขึ้นอกี 20Hz

15

1.4.2 การดูดซึมของอากาศ(AirAbsorption)
เม่ือเราฟงเสียงหางจากแหลงกําเนิดเสยี ง การดูดซึมของอากาศ (Air Absorption) จะทําใหเราไดย ิน เสียงแตละความถี่ท่ีมีการลดทอน(Attenuation)แตกตางกันเราจะพบวา เม่ือความถ่ีมีคาสูงขึ้น ระดับของเสียงก็จะมกี ารลดทอน(Attenuation)สูงข้ึนดวย

ตัวอยางเชน
ท่ีความถ่ี 500 Hz จะมีการลดทอน (Attenuation) 0.3 dB ตอ 100 m

ความถ่ี 2,000 Hz จะมีการลดทอน (Attenuation) 1 dB ตอ 100 m

ความถ่ี 8,000 Hz จะมีการลดทอน (Attenuation) 7 dB ตอ 100 m โดยท่ี คาความชื้นสัมพัทธ (Relative humidity) หรือ RH = 70%

1.4.3 ความชื้น(Humidity) เนื่องจากความช้ืนสัมพัทธ(RelativeHumidity)หรือRHเกี่ยวของกบั จํานวนโมเลกุล(Molecule) ของนํ้าในอากาศความชื้นสมั พัทธ(RelativeHumidity)จะทําใหระดับของเสียงมีการลดทอน (Attenuation) แตกตางกนั

ตัวอยางเชน
ความช้ืนสัมพทั ธ20%เสียงจะลดทอน0.09dB/mท่ีความถี่4kHz ความช้ืนสัมพทั ธ80%เสียงจะลดทอน0.02dB/mท่ีความถ่ี4kHz

เราไมสามารถละเลยคาความช้ืนสัมพัทธ(RelativeHumidity)ไดเนื่องจากความชน้ื สัมพัทธ (Relative Humidity) เปนปจ จัยที่มีความสําคัญพอสมควรเกี่ยวกับการลดทอน (Attenuation)

1.4.4 ระยะเวลาความกองสะทอน(Reverberationtime)
ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 หมายถึงระยะเวลาที่ทําใหระดับของ เสียงกองสะทอ นท่ีเกิดข้ึนทคี่ วามถ่ีหนึ่งลดลง60dB

ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 มีหนวยเปนวินาที

  

16

ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 ของหอง จะแปรผันตามพารามิเตอร (Parameter) ของหอง ดังน้ี

1.    ปริมาตร (Volume) หรือ V 


2.    พื้นที่ผิว (Surface) หรือ S 


3.    สัมประสิทธิ์การดูดซึมเฉล่ีย (Average Absorption Coefficient) หรือ α

4.    การดูดซึมของบรรยากาศ(Atmosphere Absorption) หรือ m ท่ีมีคาการลดทอนคงท่ี 
(Attenuation Constant) 


เราคํานวณระยะเวลาความกอ งสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 ของหอง จากสูตรตาม ระบบสากล (SI) ดังน้ี

RT60 = 0.161V/(α S + 4mV)

ตัวอยางการคํานวณ
หองขนาด : 100x100x10 m3 α = 0.1

ดังนั้น

V=100,000m3และS=24,000m2
ความชื้นสัมพทั ธ (Relative humidity) หรือ RH = 60% อุณหภูมิ (Temperature) = 20°C

ความถี่ (Freq) (Hz)

m [1-2] (10-3 m-1)

4mV (m2)

RT60 (s)

m [3] RH=60%

m [3] RH=20%

RT60 RH=20%

125

0.12

48

6.62

0.07

0.10

6.60

250

0.28

112

6.41

0.15

0.23

6.46

500

0.51

204

6.18

0.37

0.56

6.14

1,000

0.78

312

5.94

0.91

1.39

5.45

2,000

1.49

596

5.37

2.25

4.28

3.92

4,000

4.34

1,736

3.89

5.6

14.5

1.96

8,000

16.0

6,400

1.83

16.2

47.1

0.76

ที่มา :

[1] Room Acoustics (1991), Kuttruff.
[2] Handbook of Chemistry and Physics (1973).
[3] Absorption of Sound in Air versus RH and T (1967), Cyril Harris.

17

    

2.0 เครื่องหมายเดซิเบล(DecibelNotation)

  

2.2 คํานิยาม

หนวย dB (deciBel) เปนหนว ยทใี่ ชกันมากในวิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร (Communication engineering) และวิศวกรรมระบบเสียง (Audio engineering) เราใชหนวย dB (decibel) ชวยคํานวณ ปริมาณขนาดใหญๆ โดยคํานวณในรูปแบบที่งายข้ึนเชนการคํานวณแบบการบวกลบแทน การคูณหารหรือยกกําลัง ทําใหเวลาในการคํานวณลดลง สําหรับความรูสึกของคน เชน การสัมผัส การไดยนิ การมองเห็น การรบั รูน้ําหนัก สว นใหญมักจะอยูในรูปแบบฟง ชันลอการิทึม (Logarithm function) และการเปรียบเทยี บกับคามาตรฐานคาหน่ึงเสมอ

2.1.1 คุณสมบัติลอการิทึม(Logarithmiccharacteristic)ของหูของคน
วิธีตรวจคณุ สมบัติลอการิทึม(Logarithmiccharacteristic)ของหูของคนในเรื่องของความไวตอ ระดับการเปลยี่ นแปลง สามารถกระทําไดโ ดยนําเคร่ืองกําเนิดสัญญาณรูปไซน (Sine) มาปอนสัญญาณรูปไซน (Sine) ผานสวิตชกอ นเขาเคร่ืองขยายเสยี ง (Amplifier) และลําโพง (Loudspeaker) ท่ีเหมือนกัน 2 ชุด ตามรูปท่ี 10

รูปที่ 10 วิธีการตรวจคุณสมบัติลอการิทึมของหู

ในข้ันแรก เราจะปอนกําลังใหแกลําโพงท้ัง 2 ขางเทากัน (เชนประมาณ 100 mW โดยข้ึนอยูกับชนดิ ของลําโพง)ผลท่ีไดคือลําโพงท้ัง2ขางจะใหระดับความดังที่เทากันจากนั้นเราก็คอ ยๆเพิ่มกําลัง ใหแกลําโพงขางหน่ึงประมาณ 26% (ในตวั อยางน้ีคือ 126 mW) เราจะพบวาลําโพงขางนั้นจะให ระดับเสียงท่ีดงั กวาอีกขางหนึ่ง เม่ือเราเพิ่มกําลัง 26% ใหแ กลําโพงขางที่มีระดับเสียงต่ํากวา เราจะ พบวาลําโพงทงั้ สองขางใหระดับเสียงดังเทา กันอีกคร้ังหน่ึง

 

18

ตอไปเราก็กระทําเหมือนเดมิ คือเพิ่มกําลังใหแกลําโพงขางหนึ่งอีกประมาณ26%(ในตัวอยางนี้คือ 26% ของ 126 mW = 32 mW ผลรวมของกําลังคือ 126+32 = 158 mW) เราจะสังเกตไดวาถาเราเพ่ิม กําลังใหแกลําโพงประมาณ 26% (หรืออัตราสวนลอการิทึม (Logarithm)) หูของคนจะไดย ินเสียงดัง เพ่ิมขึ้นคงท่ี (หรืออัตราสวนคงที่) การทดลองน้ีเราพบวาการปอนกําลังใหแกลําโพงเพ่ิมข้ึนเปน อัตราสวนลอการิทึม(Logarithm)ระดับความดังของลําโพงจะเพ่ิมขนึ้ เปนอัตราสวนคงท่ีหรือ เชิงเสน (Linear)

2.1.2 อัตราสวนกําลงั (PowerRatio)
เรากําหนดนิยามของ Bel คืออัตราสวนกําลังในลอการิทึม และกําหนด decibel (dB) คือ 1ใน 10 ของ Bel deci แปลวา 1/10

Ratio (in Bel) = log P2/P1 Ratio(indB) =10logP2/P1

รูปท่ี 11 ตารางเปรียบเทียบอัตราสวนกําลงั กับ dB

จากรูปท่ี 11 เราจะพบวาการขยายของอัตราสวนกําลัง 2 เทา เทากับอัตราขยาย 3 dB เมื่อมีการขยาย ของอัตราสวนกําลัง100เทาอัตราขยายเพมิ่ ขึ้น20dB

ขอสังเกต
เนื่องจาก dB เปนหนว ยของอัตราสวน ดังน้ันหูของคนจะไดย ินความแตกตางของระดับของเสียง จากกําลัง 1 W และ 2 W เหมือนกับความแตกตางของระดับของเสียงจากกําลัง 100 W และ 200 W ในท่ีน้ี คือ ระดับความดังเพมิ่ ข้ึน 3 dB เหมือนกันท้ัง 2 กรณี (แตอยาลืมวาระดับความดังจากกําลัง 1W จะนอยกวา ระดับความดงั จากกําลัง 100W ของลําโพงแบบเดยี วกัน)

  

19

2.1.3 อัตราสวนแรงดัน(VoltageRatio)
สมมติวาเราไดตอตัวความตา นทาน 10 Ω เขากับแรงดันไฟฟา (Voltage) 10 V

เราจะคํานวณไดวา I=V/R=10/10=1A

P=IV=10x1 =10W

(P = Power dissipated หรือ กําลังสูญเสีย) เม่ือเราเพ่ิมแรงดันไฟฟา (Voltage) 2 เทาเปน 20 V

เราจะคํานวณไดวา I=V/R=20/10=2A

P=IV=20x2=40Wเราจะพบวากําลังสญู เสียเพิ่มขึ้น4เทา จากตัวอยางการคํานวณขางตน น้ีแสดงวาการเพิ่มแรงดัน(Voltage)2เทาจะมีผลเทากบั การเพ่ิมกําลัง 4 เทา เราคํานวณอัตราสวนแรงดัน (Voltage ratio) ในรูปของ dB ดังน้ี

Ratio (in dB) = 10 log P2/P1
= 10 log (V22/R)/ (V12/R)

= 10 log V22/V12

=20logV2/V1 นั่นคือ10logของอัตราสวนกําลังจะเทากบั 20logของอัตราสวนแรงดัน

ตัวอยาง

__ อัตราขยาย3dBหมายถึง2เทาของอัตราขยายกําลังหรือ√2เทาของอัตราขยายแรงดนั และ

อัตราขยาย 6 dB หมายถึง 4 เทาของอัตราขยายกําลัง หรือ 2 เทาของอัตราขยายแรงดนั

 

รูปท่ี 12 ตารางเปรียบเทียบอัตราสวนแรงดันกับ dB 20

ขอสังเกต
เราตองพิจารณาถึงคุณสมบัติทางเทคนิคของเคร่ืองขยายเสียง (Amplifier) หรือเครื่องลดทอน (Attenuator) ในเร่ืองของอัตราขยายหรืออตั ราลดทอน (ท่ีแสดงไวรูป dB) ใหดวี าเปน อัตราขยาย หรืออัตราลดทอนของกําลังหรือแรงดัน

2.1.4 คาอางอิงของdB
ถึงแมวาdBจะเปนคาของอตั ราสวนแตกส็ ามารถแสดงคาสัมบูรณ(Absolutevalue)ไดถาเรามี คาอางอิงมาตรฐาน ตัวอยางเชน ถาเรากําหนดคาอางอิงมาตรฐานเปน 1W แลว อัตราขยาย 3 dB หมายถึงกําลังขยาย 2 W และอัตราขยาย 6 dB หมายถึงกาํ ลังขยาย 4 W

dBm-dBu

เราไดใชคาอางอิงมาตรฐาน dBm-dBu นี้ในงานวิศวกรรมโทรคมนาคมมานานแลว โดยเรา กําหนดคามาตรฐานคือ คา 0 dBm = คากําลัง 1 mW (milliwatt) บนคาความตานทาน 600 Ω เราสามารถคํานวณแรงดนั ของ1mWบนความตานทาน600Ωไดเทากับ0.775V=775mV ในทางปฏิบัติ การใชคา dBm เราจะละคาความตานทานไว แตถาเราอางอิงเฉพาะคาแรงดัน 775 mV เพียงอยางเดยี ว ก็จะทําใหคาอางอิงมาตรฐานผิดไป

แตมีการกําหนดคาอางอิงมาตรฐานในงานสตูดิโอ (Studio engineering) เปน dBu จะอา งอิงกับคา แรงดัน 775 mV เทาน้ัน โดยไมคํานึงถึงคาความตานทาน

dBV

คาอางอิงมาตรฐานน้ีเปนทนี่ยิมและใชกันแพรหลายในงานวิศวกรรมไฟฟาเราใชอางอิงกับ คา แรงดัน 1 V โดยไมคํานึงถึงคาความตานทาน เชน 20 dBV = 10V

dB (SPL)

คาอางอิงมาตรฐานน้ีเปนทนี่ยิมและใชกันแพรหลายในการวัดระดับความดันเสียง(Soundpressure level) เราจะวดั การเปลี่ยนแปลงระดับความดัน (Pressure) ของอากาศ เนื่องจากเสยี งเกิดจาก ความดัน (Pressure) ท่ีทําใหเกิดการขยายตวั และหดตวั ของอากาศ เรากาํ หนดมาตรฐานท่ีใชวดั ระดับความดนั เสียง(Soundpressurelevel)ดังน้ี

 

21

ที่ความถ่ีกลาง 1 kHz และจุดที่หูของคนเร่ิมไดยินเสียง (Threshold of hearing) เรากําหนดคามาตรฐานท่ีใชว ัดระดับความดันเสียง (Sound pressure level) ท่ีจุดน้ีคือ

0dB(SPL) =20μN/m2 =20μPa

=2x10-5Pa (Pa=Pascal=N/m2)

เ ม ่ ื อ เ ร า เ พ ิ ่ ม ร ะ ด ั บ ค ว า ม ด นั เ ส ี ย ง ( S o u n d p r e s s u r e l e v e l ) จ น ถ ึ ง ร ะ ด ั บ ห น งึ ่ ท ่ ี ห ู ข อ ง ค น ไ ด  ย ิ น แ ล ะ เร่ิมมีอาการเจบ็ หู(ThresholdofPain)เราไดคาระดับความดันเสียง(Soundpressurelevel) ที่จุดน้ีคือ

120dB(SPL) =20Pa
= 20 log 20/ (2x10-5)

คาระดับความดันเสียงอ่ืนๆ ท่ีควรจําไว 74dB(SPL) =0.1Pa 94dB(SPL) =1.0Pa

22

2.2.1 การบวกและการลบdB 1. การบวก

2.2 การคํานวณ

 

การบวกระดับสัญญาณ เชนความดังเสียง (ในรูปของ dB) จากแหลงกําเนิด 2 แหลงท่ีไมเก่ียวของ กัน เราสามารถคํานวณไดจากสูตร

Ls = 10 log [10 L1/10 + 10 L2/10]
ตัวอยางเชน ตอ งการบวกสญั ญาณรบกวน(Noise)2แหลงขนาด90dB(SPL)เราจะได

Ls =10log[109 +109]=93dB(SPL)

2. การลบ
การลบระดับสัญญาณ เชนความดังเสียง (ในรูปของ dB) จากแหลงกําเนิด 2 แหลงท่ีไมเก่ียวของ กัน เราสามารถคํานวณไดจากสูตร

Ls = 10 log [10 L1/10 - 10 L2/10]

3. การใชกราฟในการบวกและการลบระดับสัญญาณ 3.1 การบวก

วิธีบวกระดับสัญญาณจากแหลงกําเนิดสญั ญาณ2แหลงที่ไมเกี่ยวของกันในรูปของdBสามารถทํา ไดโดยนําคาผลตางของสัญญาณทั้งสองมาเขากราฟโคงทางดานขวา (Numerical difference between two levels being added-decibels) จากคาที่ไดใ หเ ล่ือนเสนกราฟไปทางซาย จะปรากฏคา ของกราฟในแนวต้ัง (Numerical difference between total and large levels-decibels) นําคาที่ไดมา บวกกับคาระดบั สัญญาณที่สูงกวา

ตัวอยาง ตองการบวกสัญญาณขนาด 75 dB และ 80 dB
เรานําผลตางของ 75 dB และ 80 dB คือ 5 dB มาเขากราฟโคงทางดานขวา (Numerical difference between two levels being added-decibels) จากคาท่ีไดใ หเ ลื่อนเสนกราฟไปทางซาย จะปรากฏคา ของกราฟในแนวตั้ง (Numerical difference between total and large levels-decibels) คือ 1.2 dB นําคาที่ไดมาบวกกับคาระดับสัญญาณท่ีสูงกวาคือ 80dB จะไดผลลัพธ 80dB+1.2dB=81.2dB

  

23

3.2 การลบ วิธีลบระดับสัญญาณสามารถทําได 2 แบบ คือ

ถาผลตางระหวางระดับสัญญาณรวมกับระดับสัญญาณที่ตองการลบมีคาระหวาง3ถึง14dBใหน ํา คาผลตางของสัญญาณรวมและระดับสัญญาณท่ีตองการลบมาเขากราฟทางแนวนอน (Numerical difference between total and smaller levels-decibels) แลวเล่ือนเสนกราฟมาชนกับกราฟโคง ทางดานขวา (Numerical difference between two levels being added-decibels) จากคาที่ไดใหเ ล่ือน เสนกราฟไปทางซาย จะปรากฏคาของกราฟในแนวต้ัง (Numerical difference between total and large levels-decibels) นําคาที่ไดมาลบออกจากกับคาระดับสัญญาณรวม

ตัวอยาง ตองการลบสัญญาณขนาด 81 dB ออกจากสัญญาณรวมขนาด 90dB
เรานําผลตางของ 81 dB และ 90 dB คอื 9 dB มาเขากราฟทางแนวนอน (Numerical difference betweentotalandsmallerlevels-decibels)แลวเล่ือนเสนกราฟมาชนกบั กราฟโคงทางดานขวา (Numerical difference between two levels being added-decibels) จากคาท่ีไดใหเ ล่ือนเสนกราฟไป ทางซาย จะปรากฏคาของกราฟในแนวต้ัง (Numerical difference between total and large levels- decibels)คือ0.6dBนําคาที่ไดมาลบออกจากกับคาระดับสัญญาณรวมคือ90dBจะไดผ ลลัพธ 90dB–0.6dB=89.4dB

แตถาผลตางของระดับสัญญาณรวมและระดับสัญญาณท่ีตองการลบมีคานอยกวา 3 dB ใหนํา คาผลตางของสัญญาณรวมและระดับสัญญาณที่ตองการลบมาเขากราฟทางแนวตั้ง (Numerical difference between total and large levels-decibels) แลวเลื่อนเสนกราฟมาชนกับกราฟโคงทาง ดานขวา (Numerical difference between two levels being added-decibels) จากคาทไี่ ดใหเ ล่อื น เสนกราฟลง จะปรากฏคาของกราฟทางแนวนอน (Numerical difference between total and smaller levels-decibels)นําคาท่ีไดมาลบออกจากกบั คาระดับสัญญาณรวม

24

ตัวอยาง ในทางกลับกัน ตองการลบสัญญาณขนาด 89.4 dB ออกจากสัญญาณรวมขนาด 90dB เรานําผลตางของ 89.4 dB และ 90 dB คือ 0.6 dB มาเขากราฟทางแนวตั้ง (Numerical difference between total and large levels-decibels) แลวเล่ือนเสนกราฟมาชนกับกราฟโคงทางดานขวา (Numerical difference between two levels being added-decibels) จากคาท่ีไดใหเ ล่ือนเสนกราฟลง จะปรากฏคากราฟทางแนวนอน (Numerical difference between total and smaller levels-decibels) คือ 9 dB นําคาที่ไดมาลบออกจากกับคาระดับสัญญาณรวมคือ 90dB จะไดผลลัพธ 90dB–9dB=81dB

 

รูปท่ี 13 การบวกและการลบระดับสัญญาณเปน dB

รูปท่ี 13 เปนกราฟท่ีใชในการบวกและการลบระดับสัญญาณจากแหลง กําเนิดสัญญาณ 2 แหลง ท่ีไมเกี่ยวของกัน ในรูปของ dB

25

    

3.0 คําถามเบื้องตน เกี่ยวกับการออกแบบระบบเสียง

  

ในการประเมนิ ความตองการของการใชงานระบบเสียงผูออกแบบจําเปนตองเก็บตรวจสอบและ วิเคระหขอมูลตางๆ เชนความตองการของผูใชงาน สภาพอะคูสติก (Acoustic) ของหอง คุณสมบัติ ทางเทคนิคของอุปกรณท่ีจะใชเพราะขอมลู ตางๆเหลาน้ีเปนตัวบงช้ีถึงความสามารถใน การออกแบบต้ังแตการคํานวณสภาพอะคสู ติก(Acoustic)ของหองจนกระท่ังวิธีการเลือกอุปกรณ ที่จะใชงานโดยอาศัยขอมูลเก่ียวกับคุณสมบัติทางเทคนิคของอุปกรณตา งๆ เหลาน้ัน

ตัวอยางการประเมินความตอ งการของการใชงานระบบเสียงเชนระบบเสียงท่ีใชงานในโบสถ ขนาดเล็ก ความตองการของผูใชงานคือ ตองการขยายเสยี งเฉพาะเสียงพูด สภาพอะคสู ติก (Acoustic) ของโบสถมีระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) คอนขางยาวนาน อุปกรณ จําเปนท่ีใชงานเบื้องตนไดแ กไมโครโฟนจํานวนประมาณ2ถึง3ตัวลําโพงจํานวนประมาณ2ถึง 4ตัวลําโพงท่ีเลือกควรจะเปน ลําโพงซาวดค อลัมนท่ีเหมาะสมกับสภาพอะคูสติก(Acoustic) ในโบสถ เครื่องขยายเสียงควรมีการคํานวณขนาดใหเหมาะสมกับกําลังที่ใชของลําโพง เราควร ปรับแตงระดบั สัญญาณของไมโครโฟนแตละตัวและเสยี งทุมแหลมของลําโพงเพื่อใหเหมาะสมกบั การใชงาน และเมื่อเราปรับแตงระบบเรียบรอยแลว ผูใชงานก็ไมควรจะปรับแตงอะไรเพ่ิมเติมอีก สําหรับการเปดใชงานเคร่ืองขยายเสียงแตละครั้ง

ตัวอยางการประเมินความตอ งการของการใชงานระบบเสียงที่มีความยุงยากซับซอนกวาเชน ระบบเสียงท่ีใชงานในสนามบิน ความตองการของผูใชงานคือ การถายทอดเสียงพูดสาํ หรับ การประกาศและเสียงเพลงไปยังจุดตางๆ หลายจุดที่ตองการ เชนหองพักผูโดยสาร หองนํ้า เปนตน ดังนั้นการเลือกอุปกรณระบบเสียงท่ีใชงานจึงมีความยุงยากซับซอนมากกวาอุปกรณระบบเสียง สําหรับการใชง านปกติ อุปกรณระบบเสียงที่เพ่ิมเติมจากระบบเสียงปกติ ไดแกอุปกรณ การจัดเสนทางและสวิตซของวงจรเสียง (Routing and switching system) อุปกรณสําหรับการ สํารองฉุกเฉินในกรณีระบบเสียงที่ใชงานมปี ญหา(Backupsystem)รวมถึงอุปกรณสําหรับ การประกาศยอ ยสําหรับพื้นท่ีเฉพาะและอุปกรณที่อนญุ าตใหระบบเสียงสวนกลางมีสิทธิพิเศษ (Priority) ในการยกเลิกการทาํ งานของอุปกรณสําหรับระบบประกาศยอ ยสําหรับการประกาศจาก สวนกลางได

26

เราสังเกตไดว า ถึงแมคุณภาพของระบบเสียงที่ออกแบบเบ้ืองตนจะอยูในเกณฑท่ีพอรบั ได แตย ังมี ปญหาของความซับซอนจากสภาพแวดลอ มของสถานท่ีท่ีตองการใชง าน เชน สภาพอะคูสติก (Acoustic) ของหอง ผูออกแบบจึงควรเลือกใช ติดตั้ง และคํานวณจํานวนอุปกรณตางๆ ให เหมาะสม นอกเหนือจากการออกแบบระบบเสียงปกติ

ตัวอยางคําถามเบ้ืองตนท่ีผูออกแบบควรนํามาปรึกษากบั ผูใชงานเพ่ือเปนขอมูลสําหรบั การออกแบบระบบเสียงตอไป

1.    ผูใชงานตองการระบบเสียงที่ใชสําหรับเสียงพูดอยางเดยี ว เสียงเพลงอยางเดยี ว หรือ เสียงพูดและเสียงเพลงผสมกัน 


2.    ผูใชงานตองการระบบเสียงสําหรับการประกาศทวั่ ไป และ/หรือ การประกาศฉุกเฉิน 


3.    จํานวนโซน (Zone) หรือจุดท่ีตองการประกาศ 


4.    ผูใชงานตองการประกาศพรอ มกัน หรือเลอื กประกาศเฉพาะโซน (Zone) 


5.    จํานวนโปรแกรมเสียงเพลงท่ีตองการ 


6.    ระดับความดังที่สูงสุดและต่ําสุดของเสียงรบกวนโดยรอบ (Ambient noise) 


7.    ระดับความดังของเสียงที่ตองการ 


8.    ระดับความชดั เจนของการไดยิน (Intelligibility) ท่ีตองการ 


9.    อุปกรณและ/หรือวิธีการเพมิ่ เติมท่ีผูใชงานตองการ หากระบบเสียงทใี่ ชงานมี 
ระดับความดังของเสียงท่ีเกนิ พอดีและสรางความรําคาญแกผูฟง 


10.                        ผลตอบสนองความถ่ี (Frequency response) ของระบบเสียงท่ีตองการ 


11.                        การกําหนดตําแหนงการติดต้ังของอุปกรณตางๆ ท่ีใชในระบบ 


27

    

4.0 อุปกรณที่ใชในการออกแบบ

  

ผูออกแบบระบบเสียงท่ีดีจะตองเขาใจรายละเอียดตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับระบบเสียง รายละเอียดท่ี สําคัญประการแรกๆ คืออุปกรณหลักท่ีใชใ นระบบเสียง ไดแก ไมโครโฟน (Microphone) ลําโพง (Loudspeaker) เคร่ืองขยายเสียง (Amplifier) และอุปกรณการประมวลสัญญาณ (Signal processing equipment)

เราจะกลาวถึงรายละเอียดของอุปกรณหลักตางๆ ตามลําดับ ดังตอไปนี้

ไมโครโฟน (Microphone)

5.1 การเลือกใชไมโครโฟน (Microphone)

ไมโครโฟน(Microphone)เปนอุปกรณห ลักสวนแรกทใี่ชในระบบเสียงไมโครโฟน(Microphone) เปนอุปกรณทเี่ ปล่ียนแปลงเสยี งมาเปนสัญญาณไฟฟา โดยท่ัวไปชนิดของไมโครโฟนที่ใชในระบบ เสียงแบบโปรเฟสชันแนล (Professional audio system) มีอยู 3 แบบ ดงั ตอไปน้ี

1. แบบอิเล็กทรอไดนามิก (Electrodynamic)

2.    แบบคอนเดนเซอร (Condenser) 


3.    แบบอิเล็กเทรต (Electret) 


ไมโครโฟนแตละชนิดจะใหผลตอบสนองการรับสัญญาณท่ีแตกตางกันตามแตว ิธปี ระกอบและ ชนิดของแคปซูล(Capsule)ในตัวไมโครโฟนเราควรใหค วามสําคญั กับการเลือกชนดิ ของ ไมโครโฟนเปนพิเศษโดยคํานึงถึงลักษณะการใชงานและราคาที่เหมาะสม

เราอาจจะมีงบประมาณจํากัดในการเลือกซอ้ื อุปกรณสําหรับระบบเสียงแตเราก็ไมควรประหยดั งบประมาณในการเลือกไมโครโฟนท่ีมีคุณสมบัติทางเทคนิคท่ีดี เราควรจะประหยดั งบประมาณใน การเลือกอุปกรณอื่นๆ ท่ีเกยี่ วของแทน

     

5.0 ไมโครโฟน(Microphone)

  

28

5.2 ชนิดของไมโครโฟน

5.2.1 แบบอิเล็กทรอไดนามิก (Electrodynamic) หลักการทํางานเบ้ืองตนของไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic microphone) ที่เปลี่ยนแปลงเสียง มาเปนสัญญาณไฟฟาคือการเคล่ือนไหวของขดลวดที่ตดิ กับแผนไดอะเฟรมตัดผานสนามแมเหล็ก เม่ือแผนไดอะเฟรมเคลื่อนไหวเปน จังหวะตามแรงส่ันสะเทือนของอากาศท่ีเกิดจากเสยี ง ขดลวดที่ ติดอยูกจ็ ะเคลอื่ นไหวในชองวางผานสนามแมเหล็กจากแมเหล็กถาวรที่อยูรอบขดลวด ทําใหเกดิ แรงดันไฟฟาท่ีขดลวดตามกฎของฟาราเดย

ความถ่ี (Frequency) และแอมพลิจูด (Amplitude) ของแรงดันไฟฟานี้จะแปรผันตามระดับความทุม แหลม (Pitch) และความเขม (Intensity) ของแหลงกําเนิดเสียงตามลําดับ เรายงั สรุปไดอ ีกวา ความถ่ี ที่สูงขึ้นจะทําใหขดลวดเคล่ือนท่ีเร็วขึ้น และระดับความดงั ที่มากข้ึนจะทําใหขดลวดเคลื่อนที่ลึกขึ้น

ไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic microphone) เปนไมโครโฟนท่ีใชกันท่ัวไปคอนขางแพรหลาย เน่ืองจากมีความทนทานและราคาคอนขางประหยดั ไมจาํ เปนตองใชแฟนทอมเพาเวอรซัปพลาย (Phantom power supply) คุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงเสียงเปนสัญญาณไฟฟาดีพอสมควร แตมี ความไว (Sensitivity) คอนขางต่ํา

รูปท่ี 14 ไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic microphone)

5.2.2 แบบคอนเดนเซอร(Condenser)
หลักการทํางานเบ้ืองตนของไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) ท่ี เปล่ียนแปลงเสียงมาเปนสัญญาณไฟฟา คือการเคลื่อนไหวของแผนไดอะเฟรมท่ีทําหนาที่เปนเพลต (Plate) ของตัวเก็บประจุ (Capacitor หรือ Condenser) แผนไดอะเฟรมขา งหน่ึงในตัวไมโครโฟนจะ เปนแผนโลหะบางๆ และทาํ หนาท่ีเปนเพลต (Plate) ขางหนึ่งของตัวเก็บประจุ (Capacitor หรือ

  

29

Condenser)ในขณะที่อกี ขางหนึ่งจะเปนโลหะแข็งและทําหนาที่เปนเพลต(Plate)อีกขางหนึ่งของ ตัวเก็บประจุ (Capacitor หรือ Condenser) เม่ือมีการประจุไฟฟากระแสตรง (DC) ผานแผนไดอะ เฟรมและเพลต แรงสั่นสะเทือนของอากาศที่เกิดจากเสียงจะทําใหความกวางของชองวางระหวาง แผนไดอะเฟรมกับเพลตแปรผันตาม การเคล่ือนไหวของแผนไดอะเฟรมจะทําใหแรงดันไฟฟา เปลี่ยนแปลง ยังผลใหกระแสไฟฟาเปล่ียนแปลงไปดวย

เราสามารถสงแรงดันไฟฟากระแสตรง (DC) จากเครื่องมิกซิงพรีแอมพลิไฟเออร (Mixing preamplifier console) ผานสายสัญญาณไมโครโฟนแบบ 2 แกนพรอมสายชีลด (Shield) เพ่ือสราง ประจุไฟฟาใหแ กแผนไดอะเฟรมและเพลต และสงกําลังไฟฟาใหก ับตวั ขยายสัญญาณแบบ FET สําหรับไมโครโฟน (Microphone’s FET amplifier) อีกดวย

การสงแรงดันไฟฟากระแสตรง (DC) น้ี เราเรียกวา แฟนทอมเพาเวอรซัปพลาย (Phantom power supply)เพราะแรงดันไฟฟาน้ีจะปรากฏขนึ้ เมื่อตองการใชกับไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) เทาน้ัน สําหรับไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic microphone) แรงดันไฟฟาดังกลาวจะเสมือนไมปรากฏข้ึน

เราเลือกใชไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) ในหองบันทึกเสยี งและ หองสตูดิโอของสถานีสงวิทยุและโทรทศั นเนื่องจากคุณสมบัติในการเปลี่ยนเสียงเปน สัญญาณไฟฟา ที่ดี และความไว (Sensitivity) สูง แตไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) มีราคาคอนขางแพง บอบบาง และตองการแฟนทอมเพาเวอรซัปพลาย (Phantom power supply) ดังน้ัน การใชไ มโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) ในงาน ระบบเสียงสาธารณะ (Public address) จึงไมคอยเปนที่นยิ มแพรห ลาย

5.2.3 แบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต(Backplateelectret) การทํางานของไมโครโฟนแบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต (Back plate electret microphone) หรือ BPE จะคลายกับการทํางานของไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) แตมีการ ออกแบบเปนพิเศษโดยเปนการทํางานรวมกันของแผนไดอะเฟรมที่ไมมีการประจุไฟฟา (Uncharged)และมีคุณสมบตั ิไมข้ึนกับอณุ หภูมิกับแผนอิเล็กโทรดแบบแบ็กเพลตทมี่ ีการประจุ ไฟฟาอยางถาวร(Permanentlychargedbackplateelectrode)แผนอิเลก็ โทรดแบบแบ็กเพลตทําจาก การผนึกวัสดอุ ิเล็กเทรต(Electretmaterial)กับแผนโลหะแบ็กเพลต(Backplatemetal)

30

ไมโครโฟนแบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต (Back plate electret microphone) ตองการแฟนทอมเพาเวอร- ซัปพลาย (Phantom power supply) เชนเดียวกับไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone)แตไมตองการการประจุไฟฟาแบบแยกข้ัว(Polarizingcharge)ทําใหไมโครโฟนแบบ แบ็กเพลตอิเลก็เทรต(Backplateelectretmicrophone)ตองการจํานวนกระแสไฟฟานอยกวา ไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร(Condensermicrophone)ตัวอยางเชน แฟนทอมเพาเวอรซัปพลาย (Phantom power supply) ตามมาตรฐาน IEC268-15A (DIN4559-6) จํานวน 1 ชองสามารถตอพวง ไมโครโฟนแบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต (Back plate electret microphone) ไดถึง 4 ตัว ไมโครโฟน แบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต (Back plate electret microphone) มีคุณสมบัติในการเปลยี่ นเสียงเปน สัญญาณไฟฟา ท่ีดี ความทนทาน และความไว (Sensitivity) ตํ่าตอสัญญาณรบกวน การส่ันสะเทือน และสัญญาณฮมั (Hum)

5.2.4 แบบอิเล็กเทรต(Electret)
การทํางานของไมโครโฟนแบบอิเล็กเทรต (Electret microphone) จะคลา ยกับการทํางานของ ไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร(Condensermicrophone)เชนกันโดยทแี่ ผนไดอะเฟรมของ ไมโครโฟนแบบอิเล็กเทรต (Electret microphone) จะประกอบดว ยฟลมพลาสติกแบบโพลิเมอร (Polymer plastic film) พรอมกับการประจไุ ฟฟาสถิตอยางถาวร (Permanent electrostatic charge)

ไมโครโฟนแบบอิเล็กเทรต (Electret microphone) มีตัวขยายสัญญาณแบบ FET ที่ตองการ กระแสไฟฟาจาํ นวนนอย จึงสามารถใชแรงดันไฟฟาไดท ้ังจากแบตเตอรี่ในแบบใชงานธรรมดา ท่ัวไป(Consumermodel)หรือจากแฟนทอมเพาเวอรซปั พลาย(Phantompowersupply)ในแบบ ใชงานโปรเฟสชันแนล (Professional model) ไมโครโฟนแบบอิเล็กเทรต (Electret microphone) มีคุณสมบัติในการเปล่ียนแปลงเสียงเปนสัญญาณไฟฟา ที่ดีพอสมควร แตยังไมด ีเทากับไมโครโฟน แบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต (Back plate electret microphone)

เนื่องจากไมโครโฟนแบบอเิล็กเทรต(Electretmicrophone)มีราคาที่ประหยดั กวาไมโครโฟนแบบ แบ็กเพลตอิเลก็ เทรต (Back plate electret microphone) และไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร (Condenser microphone) เราสามารถนําไมโครโฟนแบบอิเล็กเทรต (Electret microphone) มาใช ทดแทนไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic microphone) ได

31

5.3 รูปแบบการตอบสนองการรบั เสียงของไมโครโฟน (Pick-up response patterns)

รูปที่ 15 ไมโครโฟนท่ีมีความไวตอการรับเสียงรอบทิศทาง

ไมโครโฟนท่ีแสดงในรูปที่15มีความไวตอ การรับเสียงรอบทิศทางและมีผลตอบสนองตอเสียง ท่ีมาจากดานหนาเทากับเสียงท่ีมาจากดานหลังหรือดานผูฟง ดังน้ันแรงกระทําที่มีตอ แผนไดอะเฟรมจะเปลี่ยนแปลงไปตามความดัน (Pressure) ทั้งทางดานหนาและดานหลังของพ้ืนผิว ของแผนไดอะเฟรม

การปดผนึกดานหลังของไมโครโฟนทําใหแผนไดอะเฟรมมีการเคล่ือนไหวตามการเปล่ียนแปลง ของความดันของอากาศท่ีเกดิ จากเสยี งโดยไมคํานึงถึงทิศทางในการหนั ไมโครโฟน เราเรียก รูปแบบการตอบสนองการรับเสยี งของไมโครโฟนแบบน้ีวา แบบรอบทิศทาง (Omnidirectional response pattern)

ถาเราเปดผนึกดานหลังของไมโครโฟน แผนไดอะเฟรมจะไดรับผลจากการเปล่ียนแปลงตาม ความดัน (Pressure) ของอากาศท่ีเกิดจากเสียงจากทางดา นหลังของไมโครโฟน เชนเดียวกับ ทางดานหนาของไมโครโฟน รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟนจึงออกมาเปนแบบ รูป “เลขแปด” ดังรูปที่ 16

32

 

รูปที่ 16 รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟน

เสียงท่ีรับเขามาทางดานหนาของไมโครโฟนจะมีความดนั (Pressure)สูงกวาและตางเฟสกัน
(Out of phase) เม่ือเทียบกับความดัน (Pressure) ที่เกิดจากเสียงท่ีเขามาทางดานหลังของไมโครโฟน ผลตางน้ีจะสรางระดับการรบั เสียงสูงสุดทางดานหนาของไมโครโฟนสวนเสียงท่ีเขามาทาง ดานขางของไมโครโฟนก็จะหักลางกันเอง

ถาเราปรับสวนเปดทางดานหลังของไมโครโฟนท้ังขนาดพรอมเพ่ิมเตมิ วัสดุบางชนดิ เชน ตัวกรองอะคูสติก (Acoustic filter) รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงแบบโพลาร (Polar response) จะเปล่ียนแปลงตามแบบรอบทิศทาง (Omnidirectional) ผสมกับแบบรูป “เลขแปด” ผลลัพธท่ีไดจะ เปนแบบคารดอิ อยด (Cardioid) หรือ แบบรูปหัวใจ

การรับเสียงอีกรูปแบบหน่ึง คือแบบไฮเพอรคารดิออยด (Hyper-cardioid) จะใหผลตอบสนองที่ดี ทางแนวแกนดานหนา มากกวาดานขางและดานหลังของไมโครโฟน เนื่องจากการรับเสียงทาง ดานขางและดา นหลังของไมโครโฟนจะมผี ลนอยกวาการรับเสียงทางดานหนา ของไมโครโฟนมาก

33

เราสามารถสรุปรูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟนแบบตางๆ ไดดงั น้ี

5.3.1 แบบรอบทิศทาง(Omnidirectional)
วิธีการประกอบของไมโครโฟนชนิดนี้ ทําใหไมโครโฟนแบบรอบทิศทาง (Omnidirectional microphone) เปนไมโครโฟนท่ีมีความไวตอการรับเสียงทั้งหมด ผลตอบสนองจากเสียงที่เขา ทางดานหนาและดานหลังของไมโครโฟนหรือดานผูฟงจะมีผลเหมือนกัน เนื่องจากไมโครโฟน แบบรอบทิศทาง (Omnidirectional microphone) มีผลตอบสนองความถ่ีแบบราบ (Flat frequency response) และไมเก่ียวของกบั ระยะทางทหี่ า งจากแหลงกาํ เนิดเสียง เราจึงใชไมโครโฟนแบบน้ี ในการวัดและการบันทึกเสียง นอกจากนี้ยงั เหมาะสําหรบั ใชงานแบบท่ีไมโครโฟนอยูแยกโดด (Isolated)จากลําโพงหรือใชงานแบบท่ีไมโครโฟนอยูใกลชิดกับแหลงกําเนดิ เสียงมากจนระดับ สัญญาณจากแหลงกําเนิดเสียงมีคาสูงกวาเมอื่ เปรียบเทียบกับระดับสัญญาณอ่ืนๆท่ีไมโครโฟน ไดรับ

5.3.2 แบบคารดิออยด(Cardioid)

รูปที่17รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของไมโครโฟนแบบคารด ิออยด(Cardioid)

   

34

ไมโครโฟนแบบทิศทางเดียว (Unidirectional microphone) เปนไมโครโฟนท่ีมีการรับเสียงดานใด ดานหนงึ่ เพยี งดานเดยี ว เราใชไมโครโฟนแบบทิศทางเดยี ว (Unidirectional microphone) ท่ีมี รูปแบบการรับเสียงแบบคารดิออยด (Cardioid) หรือแบบรูปหัวใจในงานระบบเสียงสาธารณะ (Publis Address) เนื่องจากการวางไมโครโฟนแบบคารดอิ อยดท่ีเหมาะสมจะทําใหเ ราสามารถวาง ลําโพงไดคอนขางอิสระโดยไมมีผลตอการปรับระดับสัญญาณ

ตัวประกอบสภาพทิศทาง (Directivity factor) คืออัตราสวนกําลังของเสียงที่มีการเปล่ียนแปลง รูปแบบการรับเสียงจากทางดานหนา เทียบกับไมโครโฟนแบบรอบทศิ ทาง(Omnidirectional microphone) ที่มีความไวเทา กันสําหรับเสยี งแพรซึม (Diffused sound)

สําหรับไมโครโฟนแบบคารด ิออยดมีตวั ประกอบสภาพทิศทาง (Directivity factor) สูงสุด เทากับ 3 หรือ อัตราสวนความไวฟรอนตทูแรนดอม (The front to random sensitivity ratio) มีคา 10log3=4.8dB

เราควรวางไมโครโฟนแบบคารดิออยดใหร ับเสียงจากทางดานหนาของไมโครโฟนท่ีมีพ้ืนท่ีรับ เสียงคอนขางกวางและรับสัญญาณรบกวนที่ไมพ ึงประสงคจากดานหลังและดานขางของ ไมโครโฟนใหมีระดับสัญญาณนอยท่ีสุด

5.3.3 ไฮเพอรคารดอิอยด(Hyper-cardioid) ไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยด(Hyper-cardioidmicrophone)มีวธิ ีการทํางานเหมือน กับไมโครโฟนแบบคารดิออยด แตมีคาตวั ประกอบสภาพทิศทาง (Directivity factor) ที่สูงกวา ไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยดมีคาตวั ประกอบสภาพทิศทาง (Directivity factor) สูงสุด เทากับ 4 หรือ อัตราสวนความไวฟรอนตทแู รนดอม (The front to random sensitivity ratio) มีคา 10log4=6.0dB

เนื่องจากไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยด มีสภาพทศิ ทาง (Directivity) สูง ผูพูดควรจะพดู อยู ตรงหนาไมโครโฟนและไมค วรใชไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยดหอยคอหรือหนีบเสื้อ (Lavalier หรือ Lapel) เพราะความไวของไมโครโฟนจะสรางสัญญาณรบกวนจากการสัมผัสกับ เสื้อผาของผูพูดได เพราะไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดอิ อยดและไมโครโฟนแบบคารดิออยดมี ความไวตอเสียงท่ีมีความถี่ตา่ํ (เสียงทุม)เราจึงควรใหผูพดู พูดหางจากไมโครโฟนพอสมควร มิฉะนั้นการพดู ท่ีใกลไมโครโฟนเกินไปจะทําใหเกดิ เสียงท่ีมีความถ่ีตํ่า(เสียงทุม)ที่ไมพึงประสงค จนเกดิ เปนเสยี งอูอ้ี (Muffled) ทําใหความชดั เจนของเสียงไมดีเทาท่ีควร

35

 

รูปท่ี 18 รูปแบบการตอบสนองการรับเสียงของ ไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยด (Hyper-cardioid microphone)

36

5.4 ไมโครโฟนพิเศษแบบอื่นๆ

นอกจากไมโครโฟนท่ีไดกลาวถึงขางตนยงัมีไมโครโฟนพิเศษแบบอนื่ๆที่มีการใชงานต้ังแต การใชงานดานการกระจายเสียงและภาพ (Broadcasting) จนกระท่ังถึงการใชงานเฉพาะสําหรับ เคร่ืองดนตรีชนิดตางๆ

ไมโครโฟนพิเศษแบบอื่นๆที่ใชงานสําหรบังานระบบเสยีงสาธารณะ(Publicaddress)มีอยูหลาย แบบดังน้ี

5.4.1 ไมโครโฟนแบบหอยคอหรอื แบบหนีบเสอื้ (LavalierหรือLapelmicrophone) ไมโครโฟนแบบหอยคอหรอื แบบหนีบเสอื้ (LavalierหรือLapelmicrophone)มีขนาดที่เล็กและ เบาจึงสะดวกที่จะหอยไวทคี่ อ(Lavalier)หรือเหน็บไวท ่ีคอเสื้อกระเปาหรือเนคไท(Lapel)

เราออกแบบไมโครโฟนแบบหอยคอหรือแบบหนีบเส้ือใหมีความไวตอ เสียงที่มีความถ่ีสูง(เสียง แหลม) สําหรับชดเชยการสูญเสียเนื่องจากการดูดซับเสยี งจากเส้ือผาของผูพูด และไมมีความไวตอ เสียงที่มีความถ่ีตํ่า (เสียงทุม) ท่ีเกิดจากการสัมผัสกับเสื้อผาของผูพูด แคปซูล (Capsule) ของ ไมโครโฟนมีการยึดไวอยางดีเพ่ือปองกันการกระแทกและลดสัญญาณรบกวนทเี่ กิดจากการสัมผัส กับเส้ือผาของผูพูด

ไมโครโฟนแบบหอยคอหรอื แบบหนีบเสอื้ น้ีเปนแบบหน่ึงของไมโครโฟนแบบรอบทิศทาง (Omnidirectional microphone) จึงเหมาะทจี่ ะนําไปใชงานอ่ืนๆ เชนการใชงานในการดูแล ตรวจสอบ (Monitor) ระบบเสียงในหองกวา ง ตัวอยางไดแ ก การบันทกึ เสียงในหองประชุม

5.4.2 ไมโครโฟนแบบตัดเสียงรบกวน(Noisecancelingmicrophone) ไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยดมีคุณสมบัติพื้นฐานในการรับเสียงที่ดี เราจึงใชงานเปน ไมโครโฟนแบบตัดเสียงรบกวน (Noise cancelling microphone) ในสภาพแวดลอมท่ีมีสัญญาณ รบกวนดังมาก เชนรถโดยสาร โรงงาน หางสรรพสินคา เปนตน เราตองใหผูพูดพูดใกลกับ ไมโครโฟนแบบตัดเสียงรบกวน (Noise cancelling microphone) แบบน้ี เพ่ือใหตัวกรองที่ติดตั้งใน ไมโครโฟนสามารถกรองเสียงจนมีผลตอบสนองความถ่ีที่ราบ (Flat frequency response) และ ลดทอนสัญญาณรบกวนที่ความถี่ตํ่าจนมีคา นอยท่ีสุด

 

37

5.4.3 ไมโครโฟนแบบไรสาย(RadioหรือWirelessmicrophone) เรานําไมโครโฟนแบบไรสายที่มีเคร่ืองสงและเครื่องรับ (Transmitter and Receiver) โดยใชคล่ืน ความถ่ี FM มาใชงานใหมีความสะดวกในกรณีที่ผูพูดตองการการเคล่ือนท่ีอยางอิสระโดยไมตอง พะวงถึงเร่ืองสายไมโครโฟนสําหรับไมโครโฟนที่ใชสวนใหญจะเปน แบบมือถือ(Handheld)ที่มี เครื่องสงในตัวหรือแบบหอยคอหรือแบบหนีบเสื้อ (Lavalier or Lapel) ที่มีเครื่องสงในเปน แบบพกกระเปา

เราตองเลือกใชไมโครโฟนแบบไรสายทมี่ ีคล่ืนความถี่ที่ไมเหมือนกนั ในกรณีที่มกี ารใช ไมโครโฟนแบบไรสายมากกวา 2 เคร่ืองในสถานที่แหงเดยี วกัน ท้ังน้ีเพ่ือการปองกนั ปญหาการ ซอนทับของคล่ืนความถ่ีท่ีเหมือนกัน

38

5.5 คุณสมบัติทางเทคนิคของไมโครโฟน

5.5.1 สภาพทิศทาง(Directivity)
ในการเลือกใชไมโครโฟนในสภาพแวดลอ มท่ีมีปญหาเกี่ยวกับสภาพอะคูสติก(Acoustic)น้ัน เราจะตองลดโอกาสการเกิดการปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)เราจึงควรเขาใจคุณสมบตั ิ ทางเทคนิคของไมโครโฟนที่มักสรางความสับสนอยูเสมอ คืออัตราสวนฟรอนตทเู รีย (Front- to- rearratio)และดัชนีฟรอนตท ูแรนดอม(Front-to-randomindex)

ผลตอบสนองของไมโครโฟนแบบคารดิออยดที่ความถ่ี 500 Hz ตามรูปที่ 17 แสดงผลตอบสนอง ทางดานหลังของไมโครโฟนหรือท่ีเสน 180 องศา จะมีคา ประมาณ 23 dB นอยกวาผลตอบสนอง ทางดานหนาของไมโครโฟน การวัดผลตอบสนองของไมโครโฟนแบบคารดิออยดแบบนี้ เราเรียกวา อัตราสว นฟรอนตทูเรีย (Front- to-rear ratio)

ผลตอบสนองของไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยด แสดงตามรูปที่ 18 แมวาคาอัตราสวน ฟรอนตทูเรีย (Front- to-rear ratio) จะมีคา 14 dB แตก็เหมาะสมกับสภาพท่ีมีเสียงรบกวนมาก เนื่องจากไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยดสามารถลดทอนเสียงรบกวนทเี่ ขามายงั ดานหลังของไมโครโฟน และลดทอนเสียงรบกวนจากเสยี งกองสะทอนหรือสนามเสียงแพรซึม (Diffuse field) ที่เขามายังดานขางของไมโครโฟนไดดี

ดัชนีฟรอนตทแูรนดอม(Front-to-randomindex)เปนคุณสมบัติทางเทคนิคอีกขอหน่ึงท่ีควร คํานึงถึงและมีสตู รในการคํานวณดังน้ี

Fr =20logSf/Sd dB
โดยท่ี Sf = ความไวของสนามเสียงอิสระ (Free field sensitivity) ที่ 0°

Sd = ความไวเฉล่ียของสนามเสียงแพรซึม (Average diffuse field sensitivity)

โดยท่ัวไปไมโครโฟนแบบคารดิออยดมีคาดัชนีฟรอนตท ูแรนดอม(Front-to-randomindex) ประมาณ 4.8 dB สวนไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยดมีคาดัชนีฟรอนตทูแรนดอม (Front- to-random index) ประมาณ 5.8 dB

39

5.5.2 ความไว(Sensitivity) ความไวของไมโครโฟนคือคาแรงดันไฟฟาขาออกท่ีไมโครโฟนสรางจากการเปล่ียนแปลง ระดับความดนั เสียง (Sound pressure level) ที่มากระทบ ท่ีความถี่ 1 kHz และมีหนว ยเปน V/Pa

ตัวอยางของความไวของไมโครโฟนชนิดตางๆ มีดังน้ี

ไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอรที่ใชในหองสตูดิโอ 10.0mV/Pa(-40dBเทียบกบั 1V/Pa) ไมโครโฟนแบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรต 3.0 mV/Pa (-50 dB เทียบกับ 1V/Pa) ไมโครโฟนแบบอิเล็กเทรต 1.6 mV/Pa (-56 dB เทียบกับ 1V/Pa) ไมโครโฟนแบบไดนามิก 1.0 ถึง 2.5 mV/Pa (-60 dB ถึง –52 dBเทียบกับ 1V/Pa)

5.5.3 ขอแนะนําในการติดต้ัง ปญหาและมูลเหตุของปญหาท่ีมีโอกาสเกิดข้ึน มีดังนี้

 

ปญหา ฮัม (Hum)

การออสซิลเลต (Oscillation) ครอสทอลก (Crosstalk)

มูลเหตุของปญหา สายเมนไฟฟา (Main power cable) สาย 100 โวลต สายไมโครโฟนอื่นๆ

 

วิธีแกไขปญหา

1.    พยายามใชสายนําสัญญาณชนิดสองแกนพรอมสายหุมหรือสายชีลด (Twin core 
screened)สําหรับไมโครโฟนและสายตอ พวง 


2.    ใหวางไมโครโฟนหางจากสายเมนไฟฟา (Main power) ลําโพง และสายไมโครโฟน 
อ่ืนๆแมวาสายไมโครโฟนจะไมสรางปญหามากนกั แตห ากจําเปน ตองวางสาย ไมโครโฟนใกลกันก็ใหพยายามวางสายไมโครโฟนไขวก ันโดยทํามุม90°และ อยาวางสายไมโครโฟนใหขนานกัน 


3.    หากตองเดนิ สายไมโครโฟนเปนระยะไกลๆ ก็ควรใชเคเบิลทรานสฟอรเมอร (Cable transformer) หรือไลนแอมพลิไฟเออร (Line amplifier) เปนอุปกรณชวย 


4.    อยาวางไมโครโฟนตรงกับสนามเสียงทางตรง (Direct field) ของลําโพง จะทําใหมี โอกาสเกิดการปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) หรือเสียงหอน (Howl) เราจะกลาวถึงรายละเอียดเพมิ่ เติมในหัวขอ9.2 


40

5.6 เทคนิคการใชไมโครโฟน

ผูผลิตบางรายเชนฟลิปส/บอช(Philips/Bosch)ไดผลิตไมโครโฟนใหมคี ุณสมบัติท่ีเหมาะสมกับ เสียงพูดโดยมคี ุณสมบัติดานความไวและการถายทอด(Reproduce)เสียงพูดไดอยางชดั เจนและ มีประสิทธิภาพ สวนใหญแลวผูผลิตดังกลาวจะผลิตไมโครโฟนแบบไฮเพอรคารดิออยด (Hyper-cardioidmicrophone)สําหรับเสียงพูดและเปนไมโครโฟนท่ีมีความไวและรปู แบบ การตอบสนองการรับเสียงทิศทางเดียว โดยเฉพาะทางดานหนา และในแนวแกน คณุ สมบตั ิของ อัตราสวนความไวฟรอนตทแู รนดอม (The front to random sensitivity ratio) ทําใหการตอบสนอง การรับเสียงทางดานขางหรือดานหลังมีผลคอนขางตํ่า นอกจากนไี้ มโครโฟนแบบไฮเพอร- คารดิออยดเปน ไมโครโฟนท่ีมีสภาพทิศทาง(Directivity)สูงเราจึงสามารถใชงานไดดีใน สภาพแวดลอมท่ีมีเสียงรบกวนสูง (High noise enviroment)

ในการใชไ มโครโฟนชนิดตา งๆ เพ่ือใหเกดิ ประสิทธิภาพและมีความชัดเจนของการถายทอดเสียง อยางสูงสุด เราควรใชงาน ดงั น้ี

1. ผูพูดควรพูดใหตรงกับแนวแกน แตใหวางไมโครไฟนตา่ํ ลงเล็กนอ ย ดงั รูปท่ี 19 เพ่ือให ไมโครโฟนสามารถรับเสียงไดตลอดสเปกตรัม (Spectrum) โดยรวมถึงความถ่ีสูง นอกจากน้ียังสามารถปองกันเสียงปอม (Plops) ที่เกิดจากลมหายใจของผูพูดท่ีอาจจะ เปาถูกแผนไดอะแฟรมของไมโครโฟน

รูปที่ 19 วิธีวางไมโครโฟนทางดานหนาของผูพูด

41

2.    ระยะหางระหวางปากของผพู ูดกับไมโครโฟนควรจะอยรู ะหวาง 15 ถึง 40 ซม. เพื่อให ไมโครโฟนรับสัญญาณไดดีและผูพูดควรพูดดวยระดบัเสียงดังท่ีคงท่ีไมดังไปหรอื คอยไป 


3.    ถาระยะหางระหวางปากของผูพูดกับไมโครโฟนอยูหางใกลกวา ระยะที่แนะนํา ก็อาจจะเกดิ ปญ หาการเกิดเสียงท่ีมีความถี่ต่ํา (เสียงทุม) ที่ไมตองการ เปนเสียงอูอี้ (Muffled) ทําใหความชัดเจนของเสียงไมดเี ทาท่ีควร ปรากฏการณนี้เรยี กวา ปรากฏการณค วามใกลชิด(Proximityeffect) 


4.    ถาระยะหางระหวางปากของผูพูดกับไมโครโฟนอยูหางไกลกวาระยะที่แนะนํา จะทาํ ใหเกดิ ปญหาจากการท่ีไมโครโฟนสามารถรับสัญญาณอ่ืนๆนอกเหนือจากเสียงของ ผูพูดได ทําใหเ ราตองปรับตัวปรับควบคุมความดังหรือวอลุมคอนโทรล (Volume control) ของเครื่องขยายเสียงชวย ถาไมโครโฟนอยูในหอ งเดียวกับลําโพง ไมโครโฟน ก็จะรับเสยี งทไี่ ดจากการขยายสัญญาณจากลําโพงแลวขยายสัญญาณอีก อยางน้ีเรื่อยไป จนทําใหเกดิ ปรากฏการณการการปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)หรือทําให เกิดเสียงหอน (Howl) ได 


5.    ผูพูดไมควรใชม ือปองปดไมโครโฟน ถาเกิดการปอนกลบั ของเสียง (Acoustic feedback)หรือเสียงหอน(Howl)เพราะการกระทําดังกลาวจะทําใหก ารปอนกลับ ของเสียงหรือเสียงหอนดังมากขึ้นอีก วิธีการที่ควรกระทาํ คือผูพูดควรถอยหางจาก ไมโครโฟน หรือผูควบคุมเสียงที่มีประสบการณจะปรับลดระดับตัวปรับควบคุม ความดังหรือวอลุมคอนโทรลลง 


6.    การแกไขปญหาการปอนกลบั ของเสียง (Acoustic feedback) หรือเสียงหอน(Howl) อีกวิธีหน่ึงคือการใชตัวปรับควบคุมเสียงทมุ แหลม(Tonecontrol)หรือ เครื่องอีควอไลเซอร(Equaliser)ปรับลดระดับเสียงบางความถ่ีท่ีเปนตน เหตุของปญหา การปอนกลับของเสียงหรือเสียงหอน และขณะเดียวกัน ก็สามารถเพ่ิมระดับเสียง บางความถ่ีเพอื่ ใหผลตอบสนองรวมดีข้ึนโปรดดูรายละเอียดเพ่ิมเติมทหี่ ัวขอ9.2.4 


42

ลําโพง (Loudspeaker)

ลําโพง(Loudspeaker)เปนอปุ กรณท่ีใชเปลี่ยนสัญญาณไฟฟามาเปนเสียงและเปนอุปกรณท่ีสําคัญ อีกอุปกรณห นงึ่ ในการออกแบบระบบเสียง ลําโพงเปนอุปกรณท่ีแสดงบงบอกถึงคุณภาพและ วิธีการออกแบบระบบเสียงทดี่ ี เราจึงควรศกึ ษาชนดิ และรูปแบบการใชง านของลําโพง แตละแบบลําโพงท่ีดีควรมขี อมูลของคุณสมบัติทางเทคนิคท่ีพรอมสําหรับการคํานวณ

6.1 ชนิดของลําโพง

ลําโพงกรวย (Cone loudspeaker) เปนลําโพงที่ใชกันอยทู ่วั ไป และมักจะประกอบอยูในกลองหรือตู ผลตอบสนองความถี่ของลําโพงจึงขึ้นอยกู บั ขนาดและวสั ดุที่ใชทํากลอ งหรือตูลําโพงกรวยท่ีมี ขนาดใหญจ ะใหผลตอบสนองความถี่ตํ่าไดดี แตประสิทธิภาพ (Efficiency) ต่ํา ไมสามารถใหระดับ ความดันเสยี งเปน dB (SPL) มาก จึงจําเปน ตองใชกําลังขับสูง สวนลําโพงฮอรน (Horn) หรือ ไดอะแฟรม(Diaphragm)จะใหผลตอบสนองความถี่สูงไดดีประสิทธภิ าพ(Efficiency)สูง สามารถใหระดับความดนั เสียงเปน dB(SPL)มากจึงใชกาํลังขับท่ีตํ่ากวา ทําใหลําโพงฮอรนเหมาะ กับการใชงานในสถานท่ีท่ีมีเสียงรบกวน (Noise) สูง และการติดต้ังลําโพงที่อยูหางจากผูฟงไดเปน ระยะทางไกลๆ

6.1.1 ตูลําโพงมาตรฐาน(Standardloudspeakercabinet)

รูปท่ี 20 กลองหรือตูลําโพง 43

     

6.0 ลําโพง(Loudspeaker)

      

ตูลําโพงมาตรฐานมีการออกแบบตูใหบรรจุลําโพงกรวย 1 ตัว รูปแบบการกระจายตามความถี่ (Dispersion pattern) คอนขางกวาง การออกแบบของรูปรางตูมีความเหมาะสมกับการติดต้ังบน กําแพง เสา หรือเพดาน ทําใหกระจายเสยี งไดดี

ผลตอบสนองความถ่ีของเสียงทุมจะขนึ้ อยกู ับปริมาตรของตูโดยปกตทิ ั่วไปตูลําโพงที่มีขนาดใหญ จะใหเสียงทุมท่ีดีกวาตูลําโพงท่ีมีขนาดเล็ก ในการติดต้ังระบบเสียงประเภทเสียงเพลงไฮไฟ (HiFi) ตูลําโพงมักจะมีการปรับ(Tuned)ใหตรงกบั ความถี่เรโซแนนซ(Resonance)ของลาํโพงเสียงทุม และใหเสียงทมุ ออกจากชองที่ไดเจาะไว

การออกแบบกลองลําโพงประเภทคารดิออยด (Cardioid sound projector) โดยผูผลิตบางราย เชน ฟลิปส/บอช(Philips/Bosch)ทําใหก ลองลําโพงสามารถควบคุมของลําของเสียงในความถ่ีทั้งตํ่า และสูงไดเปน อยางดี

6.1.2 ลําโพงติดเพดาน(Ceilingloudspeaker)

รูปท่ี 21 ลําโพงติดเพดาน

  

44

ลําโพงติดเพดานเปนลําโพงกรวย (Cone loudspeaker) ที่ประกอบบนตะแกรงลําโพงและติดตั้งกับ ฝาเพดานเราใชปริมาตรระหวางเพดานกับฝาเพดานเปนตูลําโพงขนาดใหญเราควรตดิ ตั้ง ลําโพงติดเพดานในสถานทที่ ี่เพดานสูงประมาณ3ถึง5เมตรหากเพดานสูงเกิน5เมตรความดัง ของเสียงจะต่ํามากเกินไปเพราะผลของการลดทอนระดบั ความดังของเสียงเน่ืองจากระยะทาง นอกจากนี้ เราไมควรติดต้ังลาํ โพงติดเพดานในหองท่ีมีระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) เกินกวา 2 นาทีขึ้นไป (โปรดดูหัวขอ 17.0 การคํานวณระบบเสียงสําหรับสภาพแวดลอม ภายในอาคาร)

การติดตั้งลําโพงติดเพดานควรใหมกี ารครอบคลุมพื้นท่ีที่พอเหมาะและควรคํานวณมุมเปด (Opening angle) ท่ีความถ่ี 4 kHz จากรูปท่ี 21 เราสามารถคํานวณระยะหางระหวางลาํ โพงติดเพดาน แตละตัว ตามสูตรตอไปน้ี

D=2Htan(α/2)
โดยท่ี D คือ ระยะหางระหวางลําโพงติดเพดานแตละตัว

H คือ ระยะหางระหวางความสูงของเพดานกับหูของผูฟง ที่วัดหางจากพ้ืน (โดยปกติแลว ระยะเฉล่ียของหูของผูฟงหางจากพ้ืนคือ 1.5 เมตร)

α คือ มุมเปด (Opening angle) ของลําโพง ท่ีความถี่ 4 kHz เราสามารถคํานวณจํานวนของลําโพงติดเพดานทั้งหมดในพ้ืนที่ท่ีครอบคลุม ตามสูตรตอไปน้ี

n=Area/D2
โดยท่ี n คือ จํานวนของลําโพงติดเพดาน

D คือ ระยะหางระหวางลําโพงติดเพดานแตละตัว Area คือ พ้ืนที่ท่ีครอบคลุม

การเปล่ียนแปลงระดับ (Level variation) สําหรับมุมเปดท่ีกวาง (Wide opening angle) จะมี คาการลดทอนสัญญาณเนื่องจากระยะทางที่เพ่ิมขึ้นมากกวามุมเปด ที่เล็ก(Smallopeningangle)

ผูผลิตลําโพงติดเพดานบางราย เชนฟลิปส/ บอช (Philips/Bosch) ไดออกแบบซอฟตแวรพิเศษ เชน CSP คํานวณระดับความดังภายใตลําโพงและระหวางลําโพง และสามารถต้งั คาการเปลี่ยนแปลงได ท่ี 6-5-4-3-2-1 dB เราจะไดจ าํ นวนของลําโพงติดเพดาน และระยะหางระหวางลําโพงติดเพดานจาก ผลการคํานวณ

45

มุมเปด (Opening angle) ท่ีความถี่ 4 kHz = 60° การเปล่ียนแปลงระดับ = 4.5 dB

มุมเปด (Opening angle) ท่ีความถี่ 4 kHz = 90° การเปล่ียนแปลงระดับ = 5 dB

มุมเปด(Openingangle)ท่ีความถ่ี4kHz=120°การเปลี่ยนแปลงระดบั =7dB

ความสูงของเพดาน

m

3

3.5

4

4.5

5

5.5

6

ระยะหางระหวางลําโพง

m

1.7

2.3

2.9

3.5

4

4.6

5.2

พื้นที่ท่ีครอบคลุม

m2

3

5.3

8.3

12

16

21

27

ความสูงของเพดาน

m

3

3.5

4

4.5

5

5.5

6

ระยะหางระหวางลําโพง

m

3

4

5

6

7

8

9

พื้นที่ท่ีครอบคลุม

m2

9

16

25

36

49

64

81

ความสูงของเพดาน

m

3

3.5

4

4.5

5

5.5

6

ระยะหางระหวางลําโพง

m

5.5

7

9

10.5

12

14

16

พื้นที่ท่ีครอบคลุม

m2

30

49

81

110

144

196

256

   

รูปที่ 22 การเปล่ียนแปลงระดับ (Level variation) ที่คาตางๆ

46

6.1.3 ลําโพงซาวดคอลัมน(Soundcolumn)

รูปท่ี 23 ลําโพงซาวดคอลัมน (Sound column)

ลําโพงซาวดคอลัมนเปนตูลําโพงยาวในแนวต้ังที่ประกอบดวยกลุมลําโพงประมาณ 4 ถึง10 ตัว ลักษณะดังกลา วทําใหลํา (Beam) ของเสียงในแนวนอน (Horizontal) มีมุมเปด (Opening angle) กวางเหมือนกบั ลําโพง1ตัวแตลํา(Beam)ของเสียงในแนวต้ัง(Vertical)มีมุมเปดทแี่ คบกวามาก (ประมาณ 10°-15°) จนเกิดเปนทิศทางของลําของเสียง (Direction) โดยเฉพาะอยางยงิ่ ท่ีความถ่ีสูง ลําโพงซาวดคอลัมนจึงเหมาะท่ีจะนําไปใชง านในสถานท่ีท่ีเราตองการควบคุมการกระจายเสียงใน แนวต้ังและเลง็ มุมตรงแนวกบั ผูฟง ทําใหการสะทอนกลับของเสียงจากผนังหรือเพดานมีโอกาส นอย เชน โบสถ เปนตน

เน่ืองจากเสยี งความถ่ีต่ํา (เสียงทุม) ใหทิศทางท่ีนอยกวาเสียงความถี่สูง (เสียงแหลม) แตใหมุมเปด ของลําโพงท่ีกวางกวาดังนนั้ สําหรับหองที่มีระยะเวลาความกองสะทอน(Reverberationtime) ยาวนาน การกระจายของเสียงความถี่ต่ําท่ีกวางกวาจะกอใหเกิดสนามเสียงกองสะทอน (Reverberant field) ที่ปกติจะสรางปญหาของความชัดเจนของการไดย นิ เสียง (Intelligibility)

 

47

ในกรณีที่ไมโครโฟนอยูในหองเดียวกันกบั ลําโพงปญหาการปอนกลับของเสียง(Acoustic feedback)หรือเสียงหอน(Howl)ก็อาจจะเกิดขน้ึ เราสามารถแกปญหาดังกลาวโดยใช เคร่ืองอีควอไลเซอร(Equaliser)ลดระดับสัญญาณของความถี่ตํ่าลงวิธีการแกปญหาดังกลาวเปน ท่ี ยอมรับไดในกรณีเสียงพูด แตสําหรับในกรณีของเสียงเพลง การลดระดับความถี่ตํ่าของเสียงเพลง อาจจะทําใหเสียงเพลงขาดอรรถรส

การออกแบบลําโพงซาวดคอลัมนประเภทคารดิออยด (Cardioid sound column) โดยผูผลิตบางราย เชน ฟลิปส/ บอช (Philips/Bosch) ทําใหลําโพงซาวดคอลัมนประเภทคารดิออยด (Cardioid sound column) สามารถควบคุมของลําของเสียงที่ความถี่ตํ่าไดดี และมีคุณสมบัติเหมือนลําของเสียงที่ ความถี่สูง ลําโพงซาวดคอลัมนประเภทคารดิออยด (Cardioid sound column) จึงเหมาะที่จะ นําไปใชงานในหองที่มีระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) ยาวนาน และเอื้ออํานวย ใหผูออกแบบสามารถคํานวณความชัดเจนของการไดยนิ เสียง(Intelligibility)ไดสะดวกย่ิงข้ึน

รูปท่ี24คุณสมบัติทางเทคนคิ ของลําโพงซาวดคอลัมนประเภทคารดิออยด (Cardioid sound column)

    

48

6.1.4 ลําโพงฮอรน(Hornloudspeaker)

รูปที่ 25 ลําโพงฮอรน (Horn)

การทํางานของลําโพงฮอรน (Horn) หรือ ไดอะแฟรม (Diaphragm) จะแตกตางจากลําโพงกรวย เนื่องจากไดอะแฟรม(Diaphragm)ท่ีเปนแผนโลหะเล็กและบางมากจะเปนตน กําเนดิ เสียงสวน รูปรางและขนาดของชองท่ีพับในฮอรน (Folded horn) จะทําหนาที่ขยายเสียง จนลําของเสียงมีกําลัง และระดับความดันเสียงสูงเสียงจึงสามารถเดินทางไดเปน ระยะทางไกลๆ

เราสามารถนําลําโพงฮอรนไปใชงานนอกสถานที่ (Outdoor) ไดดี เนื่องจากการประกอบของ ไดอะแฟรมของลําโพงฮอรนในโมลดพลาสติก (Plastic mould) หรือโมลดโลหะ (Metal mould) และมีการปดผนกึ (Sealed)อยางดีนอกจากนี้การติดต้ังในแนวลําดับ(Array)คลายกับลําโพง ซาวดคอลัมนทําใหลําโพงฮอรนเกิดลําของเสียงในแนวต้ังได

สําหรับงานกระจายเสียงสาธารณะ(Publicaddress)ลําโพงฮอรนที่ใชม ักมีผลตอบสนองความถี่ คอนขางจํากัดโดยเฉพาะความถี่ต่ําดังน้ันเราไมควรนําลําโพงฮอรนอยางเดียวใชงานประเภท เสียงเพลง แตเราสามารถแกปญหาไดโดยนําลําโพงกรวยที่ใหเ สียงความถี่ต่ําชวย

17.1.5 ลําโพงกําลังสูงแบบฟูลเรนจ(Fullrangehighpowerloudspeaker) เราเลือกใชลําโพงตูขนาดใหญที่ประกอบดวยลําโพงฮอรน ลําโพงกรวยและตวัตัดขาม(Crossover unit)ท่ีทําหนาท่ีแบงความถ่ีเสียงใหเปน ความถี่สูง(เสียงแหลม)สําหรบั ลําโพงฮอรนและความถ่ีต่ํา (เสียงทุม) สําหรับลําโพงกรวย ในงานที่ตอ งการขับกําลังสูงๆ ใหแกลาํ โพง และระดบั เสียงดังๆ เชน การแสดงดนตรีขนาดใหญ เปนตน

  

49

 

รูปท่ี 26 ลําโพงกําลังสูงแบบฟูลเรนจ (Full range high power loudspeaker)

รูปที่ 26 แสดงการใชลําโพงฮอรนรวมกับลําโพงกรวยทใี่ ชเปนเปน ลําโพงเสียงทุม (Woofer loudspeaker) เราสามารถวางลําโพงกรวยแบบวางซอน (Stack) หรือแบบแถวลําดับ (Array) ได

รูปท่ี27ลําโพงฮอรนรวมกบั ลําโพงกรวย

50

6.2 การตอพวงและการแมตช (Match) ลําโพงเขากับเครื่องขยายเสียง

เราสามารถตอพวงลําโพงเขากับเครื่องขยายเสียงได 2 วิธี ดังนี้

6.2.1 การตอพวงโดยตรงกับขาออก(Output)ของเคร่ืองขยายเสียงที่มีอิมพีแดนซ(Impedance)ตํ่า เราตอพวงลําโพงเแบบตอตรงกับเคร่ืองขยายเสียงท่ีมีอิมพแี ดนซต่ําในกรณีท่ีโหลด(Load)มีคา คอนขางคงท่ี ไมมีการเปล่ียนแปลงจํานวนลําโพง และระยะทางระหวางลําโพงกับเครื่องขยายเสียง หางกันไมมากหรือสายลําโพงมีความยาวไมมากเชนกนั เราสามารถตอพวงลําโพงแบบขนาน (Parallel) และ/หรือ อนุกรม (Series) จนกระท่ังลําโพงมีอิมพีแดนซท่ีเทา กันหรือแมตช (Match) กับ อิมพีแดนซขาออก (Output Impedance) ของเคร่ืองขยายเสียง

รูปท่ี 28 การตอพวงลําโพงเขากับเครื่องขยายเสยี งแบบอิมพีแดนซ (Impedance) ต่ํา

6.2.2 การตอโดยระบบ 100 โวลตไลน (Volt line) เราตอพวงลําโพงเขากับเคร่ืองขยายเสียงแบบระบบ 100 โวลตไลน (Volt line) โดยผานหมอแปลง ที่เรียกวาแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ในกรณีท่ีโหลด (Load) มีคา เปล่ียนแปลง หรือจํานวนลําโพงเปล่ียนแปลงตามความตองการของผูใช ทําใหการแมตช (Match) อิมพีแดนซรวมของลําโพงกับอิมพีแดนซขาออกของเครื่องขยายเสียงเปนสิ่งที่ทําไดย าก อีกท้ัง ระยะทางระหวางลําโพงกับเคร่ืองขยายเสียงหางกันมากหรือสายลําโพงมีความยาวมากเชนกนั ทําใหเกดิ แรงดันตก(Voltagedrop)ในสายลําโพงมากกวากรณกี ารตอตรงกับขาออกของ เครื่องขยายเสยี ง

   

51

การตอพวงลําโพงในระบบ 100 โวลตไลน (Volt line) น้ี เราจะใชแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ตอกับภาคขยายกาํ ลังของเคร่ืองขยายเสียง และแปลงสัญญาณ แรงดันไฟฟาตํ่าเปนสัญญาณแรงดนั ไฟฟาสูงขนาด100,70,หรือ50โวลตสวนลําโพงจะมี แมตชิงทรานสฟอรเมอรแปลงสัญญาณแรงดันไฟฟาสูงขนาด 100, 70, หรือ 50 โวลตเปน สัญญาณแรงดนั ไฟฟาตํ่าที่มขี นาดเหมาะสมกับลําโพงการตอพวงลําโพงระบบ100โวลตไลนนี้มี ความยืดหยนุ และความสะดวกในการออกแบบจึงเหมาะกบั การใชงานสําหรับระบบเสียงสาธารณะ (Public address) ดวยเหตุผลดังตอไปน้ี

1.    เน่ืองจากการเพิ่มแรงดันไฟฟาเปน100 โวลตโดยใชหมอ แปลง กระแสไฟฟาท่ีใชจึงมี จํานวนท่ีนอยกวากระแสไฟฟาท่ีเกิดจากการตอตรงกับขาออกของเคร่ืองขยายเสียงทม่ี ี อิมพีแดนซต่ํา ทําใหมีแรงดันตก (Voltage drop) ในสายลําโพงมีคานอย เราจึงสามารถ เดินสายลําโพงไดในระยะไกลๆ ถึงแมวาเครื่องขยายเสียงท่ีใชจะมีขนาดกําลังสูงก็ตาม 


2.    ลําโพงท่ีตอในระบบ 100 โวลตไลน (ผานแมตชิงทรานสฟอรเมอร) จะใชว ิธีการตอ แบบขนานธรรมดาทําใหสะดวกในการตดิ ตั้ง 
รูปที่ 29 การตอพวงลําโพงในระบบ 100/70/50 โวลตไลน (Volt line) 


3.    ตราบใดท่ีจํานวนรวมของกําลังในหนว ยของวัตต (Watt) ของลําโพงที่ใชมีคาไมเกิน กําลังขยายของเครื่องขยายเสียง เราสามารถตอพวงลําโพงก่ีตัวกไ็ ดใ นระบบโดยไมมี ผลตอเคร่ืองขยายเสยี ง 


4.    เราเปรียบเทียบการกระจายเสียงโดยวิธีตอพวงลําโพงในระบบ 100 โวลตไลน เหมือนกับการสงกําลังไฟฟาที่ใชตามบานโดยมีการสงแรงดันไฟฟาคงที่ ผูใชไฟฟาก็ เพียงแตใชปลกั๊ (Plug)ของอุปกรณไฟฟาเสียบเขาที่เตาเสียบแตผูใชไฟฟาตอง คํานึงถึงจํานวนรวมของกําลงั ของอุปกรณไ ฟฟาที่ใชท้ังหมดไมเกินจํานวนวัตตของ วัตตมิเตอร (Watt meter) เชนกัน 


52

 

รูปท่ี30การตอพวงลําโพงกบั เครื่องขยายเสียงโดยใชแ มตชิงทรานสฟอรเมอรแบบตางๆ

เม่ือเราตอพวงลําโพงเขากับข้ัวตอ100 โวลตของเคร่ืองขยายเสยี ง เราใชกําลังสูงสุดของลําโพง แตถาเราตอพว งลําโพงเขากบั ข้ัวตอ 70 โวลต เราใชกําลังเพียงครึ่งหนงึ่ ของกําลังสูงสุดของลําโพง หมายความวา เราสามารถตอพวงลําโพงเปน จํานวน 2 เทาของจํานวนลาํ โพงที่ใชตอพว งเขากับ ข้ัวตอ 100โวลตของเครื่องขยายเสียงทํานองเดียวกนั ถาเราตอพวงลําโพงเขากับขั้วตอ

50โวลต เราใชก ําลังเพียงหนงึ่ ในส่ีของกําลังสูงสุดของลําโพง หมายความวา เราสามารถตอพวง ลําโพงเปนจํานวน 4 เทาของจํานวนลําโพงท่ีใชตอพวงเขากับข้ัวตอ 100 โวลตของเคร่ืองขยายเสียง

แมตชิงทรานสฟอรเมอรมีข้ัวตอแสดงอยูในรูปของกําลังวัตตแทนแรงดันไฟฟา 100 โวลต เชน ถา เราใหกําลังสูงสุดของลาํ โพงเปน P ขั้วตออ่ืนก็จะเปน P/2 และ P/4 ตามลําดับ (ตัวอยาง ลําโพงติด เพดานขนาดกาํ ลัง 6 วัตต จะมีข้ัวตอเปน 6 วัตต, 3 วัตต, และ 1.5 วัตต ตามลําดับ)

53

จากรูปที่ 30 เราสรุปไดวา การตอพวงลําโพงจากข้ัวตอของแมตชิงทรานสฟอรเมอรข้ัวตางๆ เขากับ ข้ัวตอระบบโวลตไลนข้ัวตางๆ ของเคร่ืองขยายเสียง จะชวยใหเราสามารถเพ่ิมจํานวนลําโพงไดโดย ไมจําเปนตองเพ่ิมจํานวนเครอ่ื งขยายเสียงหากจํานวนลําโพงท่ีเพิ่มมีจํานวนไมมากและระดับ ความดันเสยี งที่เกิดขึ้นจากลาํ โพงอยูในระดับท่ีพอรับได เน่ืองจากการลดกําลังวัตตของลําโพง และ/หรือขนาดแรงดันไฟฟา ของเคร่ืองขยายเสียงจะทาํ ใหลําโพงมีระดบั เสียงลดลง โดยท่ีกําลัง ลดลง 1/2 และ 1/4 เทา ระดับเสียงจะลดลง 3 dB และ 6 dB ตามลําดับ

เราจะตองระลกึ อยูเสมอวาในการคํานวณโหลดของลําโพงไมวาจะตอพวงในลักษณะใดก็ตาม

จํานวนรวมของกําลังในหนว ยของวตั ต(Watt)ของลําโพงที่ใชไมควรเกินกําลังขยายของ เครื่องขยายเสียง

แมตชิงทรานสฟอรเมอรที่ตอคั่นระหวางลําโพงกับเครื่องขยายเสียงมีคา สูญเสียเน่ืองจาก การใสแทรก(Insertionloss)ตัวอยางเชน แมตชิงทรานสฟอรเมอรขนาด10วัตตมีคาสูญเสีย เน่ืองจากการใสแทรก 1.5 dB ดังนั้น เคร่ืองขยายเสียงจะตองจายกําลังใหกับลําโพงและคาสูญเสีย เนื่องจากการใสแทรกท้ังหมด 14.13 วัตต

อิมพีแดนซของแมตชิงทรานสฟอรเมอรจะแปรผันตามความถี่ทําใหมผี ลที่เปนปฏิปกษ (Adverse effect) ตอผลตอบสนองความถ่ีของระบบท้ังหมด โดยเฉพาะอยางยิ่ง การขยายสัญญาณ ความถ่ีต่ําของเครื่องขยายเสียง

 

54

6.3 ตารางการตอลําโพงและเครอื่ งขยายเสียง

โดยที่ P = กําลังสูงสุดของลําโพง

เครื่องขยายเสยี ง

ลําโพง

กําลังวัตตที่ได เทียบกับ P และ 100V

ระดับเสียงที่ลดลง เทียบกับ P และ 100V

100 V

P

P

0dB

100 V

P/2

P/2

3dB

100 V

P/4

P/4

6dB

70V

P

P/2

3dB

70V

P/2

P/4

6dB

70V

P/4

P/8

9dB

50V

P

P/4

6dB

 

50V

P/2

P/8

9dB

50V

P/4

P/16

 

12 dB

55

6.4 ความยาวของสายลําโพงและการตอสายลาํ โพง

รูปท่ี 31 ความยาวสายลําโพงสูงสุดตามขนาดสาย รูปที่31แสดงความยาวสายลําโพงสูงสุดท่ีระบบรับไดต ามขนาดของสายลําโพง

     

56

ตัวอยางเชน เราใชสายลําโพงขนาด2x0.75mm2กับเคร่ืองขยายเสียงขนาดกําลัง100วตัตที่แรงดัน ขาออก 100 โวลต ความยาวสูงสุดของสายลําโพงไมควรเกิน 250 เมตร

ถาเรายอมรับคาแรงดันตก (Voltage drop) ในสายท่ี 10% เราจะสามารถเพิ่มความยาวของสาย ลําโพงเปน2เทาไดเมื่อการติดต้ังลําโพงทั้งหมดอยูท่ีปลายสายลําโพงเทียบกับการตดิ ตั้งลําโพงท่ีมี การกระจายจํานวนลําโพงแบบเทาๆ กันตลอดสายลําโพง

ในกรณีท่ีมีการติดตั้งลําโพงอยูใกลๆ กัน การตอสายลําโพงเขากับขั้วของลําโพงจะตองคํานึงถึง สภาพข้ัว (Polarity) ของลําโพงดวย เพราะถาเราตอลําโพงสลับข้ัวกันแลว จะเกิดปรากฏการณ ตางเฟสกัน(OutofPhase)ของลําโพงเราสามารถสังเกตปรากฏการณนี้ไดจากการท่ีเสียงความถตี่ ่ํา ขาดหายไป ดงั นั้น เราจึงควรจะตอสายลําโพงใหตรงกับสภาพขั้ว (Polarity) ของลําโพงในทุกกรณี กลาวคือเมื่อเราตอสายลําโพงเสนใดเสนหน่ึงเขากับขั้วตอ ข้ัวใดขวั้ หนงึ่ ของลําโพงตัวหนึ่งแลว ก็ ควรตอสายลําโพงเสนนั้นเขา กับข้ัวตอข้ัวนั้นของลําโพงตัวตอไป

เราควรวางสายลําโพงหางจากสายไมโครโฟนเปนระยะอยางนอย 40 ซม. เพื่อปองกันการเหนี่ยวนาํ สัญญาณจากสายลําโพงไปยงั สายไมโครโฟน

57

6.5 คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพงพนื้ ฐาน

1.    คากําลังท่ีลําโพงสามารถรับได (Power handling capacity) หรือ PHC มีหนวยการวัดเปน วัตต (Watt) เชนลําโพงขนาดกําลัง 6 วัตต จะสามารถรับกําลังสูงสุดจากเคร่ืองขยายเสียง ได 6 วัตต 


2.    ระดับความไว (Sensitivity) ของลําโพง คือระดับความดนั เสียง (Sound pressure level) ท่ีมี หนวยการวัดเปนdB(SPL)เราจะวดั ระดับความไว(Sensitivity)ในแนวแกนกลางของ ลําโพงหางจากลําโพง1เมตรโดยปอนสญั ญาณคล่นื ไซน(Sinewave)ที่มีกําลัง1วัตต ความถ่ี 1 kHz แกลําโพง 


3.    เม่ือเราปอนกําลังแกลําโพงเพ่ิมข้ึนเปน 2 เทา ระดับความดันเสียงจะเพ่ิมขึ้น 3 dB
ดังน้ัน ถาเราทราบคุณสมบัติทางเทคนิคดานความไว (Sensitivity) ของลําโพงแลว เราจะ สามารถคํานวณระดับความดันเสียงของลาํ โพงท่ีมีการปอนกําลังระดับตางๆ ได เชน ถาเรา ใชลําโพงท่ีมีความไว99dBท่ี1W/1mเม่ือเราเพ่ิมกําลังใหแกลําโพงเปน 2Wระดับ ความดันเสยี งจะเพ่ิมขน้ึ 3 dB ดังน้ัน ระดบั ความดันเสยี งของลําโพงจะเปน 99+3 = 102 dB และถาเราเพ่ิมกําลังเปน 4 W ระดับความดนั เสียงเพ่ิม 6 dB ดังนั้น ระดบั ความดันเสยี งของ ลําโพงจะเปน 99+6 = 105 dB 


4.    ถาเราวางลําโพงจํานวน 2 ตัวอยูใกลกัน และปอนสัญญาณที่มีกําลังเทากันและเฟส เหมือนกนั ท่ีตาํ แหนงผูฟง ระดับความดันเสียงจะเพ่ิมขึ้นอีก 6 dB จากระดับความดันเสียง ของลําโพงตัวเดียว เราสรุปไดวา แตละครั้งท่ีเราเพ่ิมจํานวนลําโพงที่อยูใกลกันเปน 2 เทา ระดับความดนั เสียงจะเพิ่มขึ้น 6 dB การออกแบบลําโพงซาวดคอลัมนก็เปนไปตาม หลักการนี้ 
รูปที่32ลําโพงจํานวน2ตัวอยูใกลกนั ระดับความดนั เสียงเพิ่มข้ึน6dB 


58

5. ถาเราวางลําโพงจํานวน 2 ตัวอยหู างจากกนั (แมแตประมาณ 1 เมตร) เสียงจะเกิด ปรากฏการณการเล่ือนของเฟสท่ีหูของผูฟงระดับความดันเสียงที่ผูฟงจะเพ่ิมขนึ้ อีกเพียง 3dBเทาน้ันเราสรุปไดวาแตละคร้ังที่เราเพ่ิมจํานวนลําโพงท่ีอยูหางกนั เปน2เทา ระดับความดนั เสียงจะเพิ่มข้ึน3dB

 

รูปที่33ลําโพงจํานวน2ตัวอยูหางจากกันระดับความดนั เสียงเพ่ิมขึ้น3dB

6.    ถาเราเล่ือนลําโพงหางจากผฟู งมีระยะทางเปน 2 เทาของระยะทางเดิม ระดับความดนั เสียง จะลดลง 6 dB เชน ตูลําโพงใหระดับความดันเสียง 112 dB ที่ระยะ 1 เมตร ที่ระยะ
2 เมตร ระดับความดันเสยี งจะลดลงเปน 106 dB และท่ีระยะ 4 เมตร ระดับความดันเสียง จะลดลงเปน 100 dB หลักการน้ีจะใชเ ฉพาะเสียงจากทิศทางตรง (Direct sound) จากลําโพงเทา น้ัน เสียงที่มาจากทิศทางอื่น (Indirect sound) เชนจากการสะทอนจาก พื้นผิวตางๆ จะมีการกลาวถงึ วิธีการคํานวณอีกครั้งในหวั ขอ 17.0 
รูปท่ี34การลดทอนของระดับความดนั เสียงเม่ือระยะทางเพิ่มข้ึน 


7.    หลักการพื้นฐานท่ีกลาวถึงขา งตน ไดกลาวถึงคุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพงที่ความถ่ี
1 kHz และมีการวัดในแนวแกนของลําโพง รูปที่ 35 แสดงแผนภาพโพลาร (Polar diagram) ของลําโพงท่ีแสดงระดับความดันเสียงในหนวยของ dB (SPL) ท่ีความถี่ตางๆ 


 

59

  

รูปท่ี 35 แผนภาพโพลาร (Polar diagram) ของลําโพง ที่แสดงระดับความดันเสยีงในหนวยของdB(SPL)ที่ความถี่ตางๆกัน

8. ท่ีความถี่ตางๆ เราเรียกระดับความดันเสยี งที่ผูฟงไดยนิ เสียงในแนวอ่ืนๆ ท่ีทํามุมเทียบกับ แนวกึ่งกลางลาํ โพงหรือมุม 0° วา LQ สําหรับมุมที่ระดับความดันเสยี งลดลงที่จุด LQ = 6 dB เราเรียกวามุมเปด (Opening angle) ของลําโพง เรากําหนดคามุมเปด (Opening angle) ของ ลําโพงไวที่ความถ่ี4kHzเพอื่ การคํานวณความชัดเจนของการไดยนิ เสียงจากรูปท่ี35 พ้ืนที่แรเงาคือมุมเปดของลําโพงท่ีความถ่ีตางๆเราจะมีการกลาวถึงวิธีการคํานวณอกี คร้ัง ในหวั ขอ 16.0

60

6.6 คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพงคาอนื่ ๆ

6.6.1 ความถี่แรโซแนนซ (Resonance frequency)
ที่ความถี่แรโซแนนซ (f0) คาอิมพีแดนซของลําโพงจะมีคา สูงมากเมื่อเทียบกับคาอิมพแี ดนซเฉลี่ย (Average impedance) ความถ่ีแรโซแนนซนี้จะเปล่ียนไปตามชนิดของลําโพง เชน ลําโพงกรวยจะมี ความถี่แรโซแนนซที่ความถปี่ ระมาณ20ถึง300Hzสวนลําโพงฮอรนจะมีความถี่แรโซแนนซท่ี ความถี่ประมาณ 200 ถึง 1,000 Hz คาอิมพีแดนซท่ีระบุ (Nominal impedance) คือคาอิมพีแดนซที่มี คาต่ําสุดของเสนโคงเหนือความถ่ีแรโซแนนซ (ที่ปกติจะมีคาประมาณ 400 Hz) ถาเราปอนกําลัง ใหแกลําโพงทคี่ วามถี่แรโซแนนซ(f0)จะสรางความเสียหายใหแ กลําโพงไดดังนนั้ เราจะตองให ความสําคัญกับความถ่ีท่ีใชป อน โดยเฉพาะอยางย่ิง เสียงที่มีความถี่เดยี ว เชน สัญญาณเตือนภัย (Alarm signal) โดยควรใหความถี่ของสัญญาณเตือนภัย (Alarm signal) เหลาน้ันมีคาไมตรงกับ ความถ่ีแรโซแนนซของลําโพง

6.6.2 ความไว(Sensitivity)
ระดับความไว (Sensitivity level) ของลําโพง คือระดับความดันเสยี งทม่ี ีหนวยการวัดเปน dB (SPL) เราจะวดั ระดับความไว(Sensitivitylevel)ในแนวแกนกลางของลําโพงหางจากลําโพง1เมตรโดย ปอนสัญญาณคล่ืนไซน(Sinewave)ท่ีมีกําลัง1วัตตความถี่1kHzแกล ําโพงความไวของลําโพง เปนคุณสมบัตทิ างเทคนิคที่ชวยในการคํานวณคาระดับความดันเสยี งทจี่ ุดอ่ืนๆ จากตวั แปรของ ระยะทางและกําลัง

เนื่องจากประสิทธิภาพของลําโพงกรวยฮอรนหรือบคอลัมนมีคาแตกตางกนั มากดังน้ันเราจึงตอง เลือกชนิดและจํานวนของลําโพงใหเหมาะสมกับสภาพของหอง ที่สามารถกระทําไดโ ดยการ คํานวณทจี่ ะกลาวตอไป

ตัวอยางเชน เราตองการคาระดับความดนั เสียง80dB(SPL)ท่ีระยะ32เมตรในสภาพนอกสถานท่ี (Outdoor)เราสามารถคํานวณกําลังท่ีตองปอนใหก ับลําโพงไดดังน้ี

 

61

ที่ระยะ 32 เมตร หางจากลําโพง เราตองการคาระดับความดันเสียง = 80 dB (SPL) คาลดทอนระดับความดนั เสียงเน่ืองจากระยะทาง =20log32 =30dB(SPL) ท่ีระยะ 1 เมตรหางจากลําโพง เราคํานวณคาระดับความดันเสียงทใี่ ช = 80 +30 = 110 dB (SPL) ถาเราเลือกใชลําโพงที่มีความไว 100 dB (SPL) ที่ 1W/1m ระดับความดันเสียงที่เพิ่มข้ึน 10 dB เราจะคํานวณกําลังเพ่ิมท่ีตองปอนใหก ับลําโพงได10วัตต

6.6.3 ประสิทธิภาพ(Efficiency)
เราใหคําจํากัดความของประสิทธิภาพ (Efficiency) ของลําโพงคือความสามารถของลําโพงในการ เปล่ียนแปลงพลังงานไฟฟา (Electrical energy) ใหเปน พลงั งานเสียง (Acoustical energy) การวัดประสิทธิภาพของลําโพงวัดในหนวยของเปอรเซ็นต (%) โดยปกติแลวประสิทธิภาพ (Efficiency) ของลําโพงจะมคี าอยูระหวาง 0.5 % ถึง 10 % ประสิทธิภาพของลําโพงจะแปรผันตาม ความถ่ีผูผลิตบางรายเชนฟล ิปส/บอช(Philips/Bosch)จึงไดกําหนดคาประสิทธิภาพของลําโพง ตามแถบออกเทฟ (Octave band)

6.6.4 สภาพทิศทาง(Directivity)หรือคาQ
ตัวประกอบสภาพทิศทาง (Directivity factor) หรือคา Q คืออัตราสวนคาเฉล่ียของ
ระดับความดนั เสียงยกกําลงั สอง (Mean squared sound pressure level) ที่วัดในแนวแกนและ ระยะทางคงทคี่ าหน่ึง เทียบกับคาเฉลี่ยของระดับความดนั เสียงยกกําลงั สอง (Mean squared sound pressure level) ที่วัดเฉลยี่ ในทุกแนวท้ังหมดและท่ีระยะทางเดียวกัน ดังนั้นคา Q ของลําโพงคือการ วัดผลตอบสนองของลําโพงในแนว 3 มิติ (3 dimensional plane)

รูปท่ี36ตัวประกอบสภาพทศิ ทาง(Directivityfactor)ท่ีความถ่ีตางๆ

ท่ีความถ่ีต่ําการแผพลังงาน(Radiation)ของลําโพงจะเปน รูปเชิงทรงกลม(Sphericalform) แตเม่ือเราเพ่ิมความถี่ใหสูงขนึ้ การแผพลังงาน(Radiation)ของลําโพงก็จะเร่ิมมีทิศทาง (Directional) มากขึ้น สรุปไดวาคา Q แปรผันตามความถ่ี

    

62

โดยเหตุทกี่ ารอานคาในการวัดจะใชคาชว ง (Intervals) 10° ในรูปทรงเชิงทรงกลม สําหรับแตละ แถบออกเทฟ(Octaveband)ท้ัง7แถบทําใหเราจําเปน ตอ งมีกระบวนการอานคามากกวา 2,000คร้ังทําใหมีผูผลิตลําโพงเพียงไมกี่รายท่ีไดก ําหนดคาตัวประกอบสภาพทิศทาง(Directivity factor) หรือคา Q เปนคุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพง

ตัวอยาง

คาเฉล่ียของคา Q โดยท่ัวไป มีคาดังตอไปน้ี

ตูลําโพง
เสียงจากคนผชู ายพูด ลําโพงซาวนคอลัมน ลําโพงคารดิออยดซาวนคอลัมน

= 2 =2.5 = 7 = 20

 

รูปที่ 37 รูปแบบมาตรฐานของคุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพง

รูปที่37แสดงรูปแบบมาตรฐานของคุณสมบัติทางเทคนคิ ของลําโพง โดยแสดงสมรรถนะของลําโพงสําหรับแตล ะแถบออกเทฟ(Octaveband)ทั้ง7แถบ

63

คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพงตางๆเหลานี้เราตองวัดคาตางๆในหอ งท่ีมีการตกแตงวัสดุดูดซึม เสียงจนไมมเีสียงสะทอน(Anechoicroom)โดยมีกระบวนการตางๆในการวัดดังตอ ไปนี้

1.    คาผลตอบสนองความถ่ี (Frequency response) จะมีการวดั ท่ีแนวแกน 0 องศา ท่ี ระยะ 5 เมตร แลวคํานวณกลับที่ระยะ 1 เมตร โดย
ใชเสียงสัญญาณไกลดิง (Gliding tone) และ/หรือ เสียงสัญญาณเสียงรัว (Warble 
tone) 1/3 ออกเทฟ (Octave) ท่ีมีความหนว งชา (Slow damping) ใชเสียงสัญญาณพิงกน อยสแบบเปนข้ัน(Steppedpinknoise)ท้ัง7ออกเทฟ 
ในการวัดสัญญาณ 
รูปท่ี 38 ขอบเขตความถี่ท่ีมีผล (Effective frequency range) 
รูปท่ี 38 แสดงการกําหนดขอบเขตความถ่ีท่ีมีผล (Effective frequency range) จาก ระยะหางระหวางจุดที่ระดับความดันเสยี งลดลง 10 dB 


2.    สําหรับกลองหรือตูลําโพงท่ีมีลําโพงตัวเดียว มกี ารวดั แผนภาพโพลาร (Polar diagram) โดยใชสัญญาณพิงกน อยส(Pinknoise)ปอนทีละข้ันท่ีความถ่ีกลางในแตละออกเทฟ คือ 125Hz 250Hz 500Hz 1,000Hz 2,000Hz 4,000Hz และ 8,000Hz สําหรับ กลองหรือตูลําโพงท่ีไมสมมาตร (Asymmetrical) หรือมีลําโพงหลายตัว การวัด บอลลูนสภาพทิศทาง(Directivityballoon)จะกระทําโดยใชอปุ กรณที่สามารถ สายและกระดก (Pan and tilt device) ทํามุมทุกๆ 10° ตลอดทั้ง 7 แถบออกเทฟ 


 

64

3.    เราใชคาที่ไดจากการวดั ในขอ ท่ี 1 และ 2 กับซอฟตแวรชอื่ EASE
(Electro Acoustic Simulator for Engineers) ในการคํานวณระบบเสียง เราจะ คํานวณหาคา Q และประสิทธิภาพ (Efficiency) ของลําโพงของทุกแถบออกเทฟที่ เก่ียวของ 


4.    คาที่ไดจากการวัดในขอ2เราสามารถหามุมเปด(-6dBที่0°)ในแนวนอนและแนวตั้ง (Horizontal and vertical opening angle) ของทุกแถบออกเทฟท่ีเกยี่ วขอ ง 


5.    คากําลังท่ีลําโพงสามารถรับได(Powerhandlingcapacity)หรือPHCสามารถหาคาได โดยการปอนสัญญาณพิงกน อยสท่ีใชตรวจสอบตามมาตรฐานIECใหแ กลําโพง ประมาณ100 ชม. หลังจากการตรวจสอบลําโพงท่ีไดรับการตรวจสอบแลวยังคง สามารถทํางานไดตามปกตติ ามคุณสมบัติทางเทคนิคท่ีไดระบุไว 
รูปที่ 39 เสียงรบกวนแบบพเิ ศษที่ใชทดสอบลําโพงตามมาตรฐาน IEC268-3 


3.                            

65

เคร่ืองขยายเสียงและอุปกรณประกอบสําหรับการประมวลสัญญาณ (Amplifier and Signal processing equipment)

ในกรณีท่ีผูใชงานตองการตดิตั้งไมโครโฟนจํานวนมากในสถานที่เดียวกันเชนบนเวทีในหอง ออดิทอเรียม (Auditorium) และตองการขยายสัญญาณของไมโครโฟนทุกตัวพรอมๆ กัน เคร่ืองผสมเสียง (Mixing consoles) จึงเปนอุปกรณท่ีใชควบคุมไมโครโฟนดังกลาวและยังสามารถ นํามาทดแทนเครื่องขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier) ได เราใชเ ครื่องผสมเสียง (Mixingconsoles)รับสัญญาณชนิดตางๆเชนไมโครโฟนเครื่องกําเนดิ เสียงอ่ืนๆเชน เครื่องรับวิทยุ (Tuner) เครื่องเลนเทปคาสเซ็ต (Cassette tape player) เคร่ืองเลนซีดี (CD player) เปนตน แลว ผสมสัญญาณตางๆ เหลานั้น กอนที่จะสงสัญญาณตอไปยงั เครื่องขยายภาคกําลัง (Power amplifier) เครื่องบันทึกเทปคาสเซ็ต (Cassette tape recorder) และ/หรือ ลําโพงมอนิเตอร (Monitor loudspeaker)

รูปที่ 40 เคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier)

      

7.0 เครื่องผสมเสยี ง(Mixingconsoles)

     

66

  

รูปท่ี 41 เคร่ืองผสมเสียง (Mixing consoles)

เครื่องผสมเสียง (Mixing consoles) มีแบบตา งๆ ต้ังแตแบบธรรมดา (Standard) ที่ใชรบั สัญญาณ ไมโครโฟนประมาณ4ชองพรอมตัวปรับควบคุมเสียงทมุ แหลม(Tonecontrol)และชองตอ สัญญาณขาออกแบบโมโน (Mono output) จนกระท่ังถึงแบบโปรเฟสชันแนล (Professional) ท่ี สามารถรับชองสัญญาณขาเขามากกวา 60 ชองสัญญาณ แตละชองสัญญาณมีตัวปรับแตงสัญญาณ อีควอไลเซอร (Equaliser) แบบละเอียด สามารถผสมสัญญาณแลวสงสัญญาณไปยังกลุมยอย (Subgroup) ตางๆ เพื่อประมวลสัญญาณ (Signal processing) จากนน้ั ก็สง สัญญาณที่ประมวลผล เรียบรอยแลว กลับไปยังชองรับสัญญาณกลับ (Return) วศิ วกรระบบเสยี งหรือผูควบคุมระบบเสียง จะควบคุมเสยี งประเภทตางๆ ใหเขากับสภาพแวดลอมของหอง จุดทคี่ วรจะตดิ ตั้งเครื่องผสมเสียง คือตรงกลางหองออดิทอเรียม (Auditorium)

67

           

รูปท่ี42ระบบเสียงรีอินฟอรซ เมนต(Soundreinforcementsystem) ในหองออดิทอเรียม (Auditorium)

รูปท่ี 42 แสดงตัวอยางของระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต (Sound reinforcement system) ใน หองออดิทอเรยี ม (Auditorium) เราจะสังเกตไดวา การติดตั้งเคร่ืองผสมเสียงไวทกี่ ลางหอง ออดิทอเรียม (Auditorium) จะชวยผูใชงานควบคุมระบบเสียงไดดี

68

    

8.0 เครื่องขยายเสียง(Amplifier)

  

อุปกรณเคร่ืองขยายเสียงหรือแอมพลิไฟเออร (Amplifier) ประกอบดว ยสวนสําคัญ 2 สวน ดังนี้ สวนแรกคือเคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier) ทําหนาที่ขยายแรงดัน (Voltagegain)และสวนที่2คือเคร่ืองขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแ อมพลิไฟเออร(Power amplifier) ทําหนาท่ีขยายกําลัง (Power gain) สําหรับงานระบบเสียงสาธารณะ (Public address) เราจะแยกวิธีการใชงานของเคร่ืองขยายเสียงเคร่ืองเดียว เปน 2 สวนดังกลาวเสมอ

8.1 เคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier)

เครื่องขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร(Preamplifier)ทําหนาทแี่ มตช(Match)และ ขยายสัญญาณชนิดตางๆเชน ไมโครโฟนเครื่องกําเนิดสญั ญาณเสียงอนื่ ๆเชนเครื่องรับวิทยุ (Tuner) เครื่องเลนเทปคาสเซ็ต (Cassette tape player) เครื่องเลนซีดี (CD player) เปนตน โดยใหมี ระดับสัญญาณท่ีเหมาะสมกอนที่จะสงสัญญาณตางๆ เหลาน้ันไปยังเคร่ืองขยายภาคกําลัง เครื่องขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร(Preamplifier) สวนใหญจะมีตัวปรับควบคุม เสียงทุมแหลม(Tonecontrol)ตัวปรับควบคุมความไวสญั ญาณขาเขา(Inputsensitivityadjustment) และตัวปรบั ควบคุมระดับความดังของเสียงหลัก(Mastervolumecontrol)

รูปที่ 40 แสดงตัวอยางของเคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier)

8.1.1 สัญญาณขาเขา(Inputs) เคร่ืองขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร(Preamplifier)ทําหนาทแี่ มตช(Match)และ ขยายสัญญาณขนาดเล็กๆ ใหมีระดับท่ีเหมาะสม เชนขนาดระดับ 500 mV หรือ 1 V กอนท่ีจะสงไป ขับ (Drive) เครื่องขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier)

ตัวอยางระดับสัญญาณขาเขามาตรฐานจากแหลงกําเนิดสญั ญาณตางๆ มีดังน้ี

ไมโครโฟนแบบไดนามิก ไมโครโฟนแบบแบ็กเพลตอิเล็กเทรตหรอื แบบอิเล็กเทรต ไมโครโฟนแบบคอนเดนเซอร

เครื่องเลนจานเสียง

เครื่องเลนเทปคาสเซ็ต เคร่ืองรับวิทยุ เครอ่ื งเลนซีดี เคร่ืองบันทึกเทปแบบโปรเฟสชันแนล

0.25 mV 1.0mV 3.0 mV 5.0 mV

250.0 mV 1.5 V

69

เราสามารถแบงระดับสัญญาณขาเขาเปน 2 แบบ จากตวั อยางระดับสญั ญาณขาเขามาตรฐานที่กลาว ไวขางตน ดังนี้

สัญญาณขาเขาแบบไมโครโฟน ระดับสัญญาณอยูระหวา ง 0.5 mV ถึง 1.5 mV
สัญญาณขาเขาแบบไลน (Line) หรือ เสียงเพลง ระดับสัญญาณอยูระหวาง 100.0 mV

ถึง 1.5 V

8.1.2 ตัวปรับควบคมุ เสียงทุมแหลม(Tonecontrol)
ตัวปรับควบคมุ เสียงทุมแหลม(Tonecontrol)เปนตัวปรบั ความถ่ีของเคร่ืองขยายเสียงโดยมี วงจรควบคุมเสียงทุมแหลมที่ใชหลักการของวงจรขยายสัญญาณ (Amplification) และ วงจรลดทอนสัญญาณ (Attenuation) ทํางานเฉพาะแถบความถี่ท่ีกําหนดไว วิธีการทํางานของวงจร ควบคุมเสียงทมุ แหลมมีดังตอ ไปนี้

รูปท่ี 43 การควบคุมเสียงทุมแหลม (Tone control)

1. การปรับตัวโพเทนชิออมิเตอร(Potentiometer)ท่ีควบคุมเสียงทุมและเสยีงแหลม ใหหมนุ ไปทางขวาจากจุด0หรือจุดเสียงราบ(Flat)
อัตราขยาย (Gain) ของแถบความถี่ (Frequency band) ท่ีตองการปรับจะเพ่ิมขึ้น ทําให ระดับสัญญาณของความถ่ีเสียงทุมและความถ่ีเสียงแหลมเพ่ิมขึ้นดวย เราจะพบวา การปรับยก (Lifting) ความถ่ีเสียงแหลมจะมีประโยชนในการชวยปรับเสียงพูด (Speech)ทําใหมีความชัดเจนของการไดยนิเสียงดีขึ้นโดยชวยกลบเสยีงรบกวนจาก สภาพแวดลอ ม (โปรดดูรายละเอียดในหวั ขอ 1.1 เกี่ยวกบั เรื่องสเปกตรัมของเสียงพูด (Speech spectrum))

  

70

2.    การปรับตัวโพเทนชิออมิเตอร (Potentiometer) ใหหมุนไปทางซาย ระดับสัญญาณของความถ่ีเสียงทุมและความถ่ีเสียงแหลมก็จะลดทอนลง เราจะพบวา การลดทอนของความถ่ีเสียงทุมจะมีประโยชนสําหรับหองที่มีขนาดใหญๆ ท่ีสวนมาก มักจะมีปญหาจากระยะเวลาความกองสะทอ น (Reverberation time) ของความถี่ต่ําท่ีมี ระยะเวลายาวนาน 


3.    เราไมนิยมทจี่ ะปรับลดทอนความถี่เสียงแหลมลง และปรับยกความถ่ีเสียงทุมข้ึน การปรับยกความถ่ีเสียงทุมสามารถนํามาใชในการขยายเสียงเพลงในหอ งที่มี ความหนว ง (Damped room) สูง เราตองการเสียงทุมเพ่อื ชวยใหเสียงเพลงมีอรรถรส มากขึ้น แตเราจะตองระวังการขยายของเสียงความถ่ีต่ําแกลําโพงจนโหลดเกิน (Overload) 
8.2 เครื่องขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier)

เคร่ืองขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลไิ ฟเออร (Power amplifier) ทําหนาท่ีขยายสัญญาณจาก เครื่องขยายภาคตนหรือพรีแอมพลิไฟเออร (Preamplifier) เคร่ืองผสมเสียง (Mixing console) และ ระบบกระจายสัญญาณ(Distributionsystem)ใหไดระดบั กําลังท่ีเหมาะสมกอนท่ีจะสงสัญญาณ ตางๆ เหลาน้ันไปยังลําโพง เราสามารถปอนสัญญาณขาเขาแกเครื่องขยายเสียง (Amplifier) ท่ีมี กําลังเต็มที่ระบุ (Nominal full power) ไดต ั้งแตระดับสญั ญาณ 100 mV ถึง 10 V

เครื่องขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลไิ ฟเออร (Power amplifier) ท่ีใชในงานระบบเสียง สาธารณะ (Public address) จะมีแรงดันขาออกเปนระบบ 100 โวลตไลน สวนเครื่องขยายภาคกําลัง หรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร(Poweramplifier)ที่ใชในงานระบบเสียงรอี ินฟอรซเมนต(Sound reinforcement system) เชนระบบเสียงท่ีใชใ นวงดนตรีตางๆ จะมีแรงดนั ขาออกที่มีอิมพีแดนซ (Impedance) ตํ่า เชน 2, 4, หรือ 8 โอหม

เราควรตอพวงลําโพงจนมีอิมพีแดนซ (Impedance) เทากันหรือแมตช (Match) กับ
อิมพีแดนซ (Impedance) ของเคร่ืองขยายเสียง และควรใหกําลังขยายของเคร่ืองขยายเสียงนอยกวา กําลังท่ีสามารถรับได (PHC) ของลําโพง เพื่อปองกันลําโพงไมใหรับความเสียหายจาก เครื่องขยายเสยี งที่จายกําลังเกิน (Overload)

2.                            

71

    

รูปท่ี 44 เคร่ืองขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier) แบบตางๆ

72

    

9.0 เครื่องอีควอไลเซอร(Equaliser)

  

เครื่องอีควอไลเซอร(Equaliser)เปนอุปกรณท่ีใชปรับควบคุมความถที่ ั้งสเปกตรัม(Spectrum)และ ปรับผลตอบสนองความถ่ีของลําโพงใหเหมาะสม เคร่ืองอีควอไลเซอรสามารถปรับเทา (Equalise) ใหกับระบบเสยี งทั้งหมดตั้งแตไมโครโฟนจนกระทั่งถึงหูของผูฟง และยังสามารถแกปญหา การปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) หรือเสียงหอน (Howl) โดยลดระดับสัญญาณของ ความถ่ีที่ทําใหเ กิดปญหา

9.1 ชนิดของเครื่องอีควอไลเซอร (Equaliser types)

ในกรณีท่ีเราตอ งการปรับควบคุมความถี่แบบแถบกวาง(Wideband)เราสามารถใชอุปกรณใน การควบคุมดังนี้

9.1.1 แบบตัวควบคมุ เสียงทุมแหลมธรรมดา(Basictonecontrol)
ตัวปรับควบคมุ เสียงทุมแหลม(Tonecontrol)เปนตัวปรบั ความถ่ีของเครื่องขยายเสียงโดยมี วงจรควบคุมเสียงทุมแหลมท่ีใชหลักการของวงจรขยายสัญญาณ (Amplification) และ วงจรลดทอนสัญญาณ (Attenuation) ทํางานเฉพาะแถบความถี่ท่ีกําหนดไว วิธีการทํางานของวงจร ควบคุมเสียงทมุ แหลมมีดังตอ ไปนี้

1.    การปรับตัวโพเทนชิออมิเตอร(Potentiometer)ท่ีควบคุมเสียงทุมและเสยีงแหลม ใหหมนุ ไปทางขวาจากจุด0หรือจุดเสียงราบ(Flat)
อัตราขยาย (Gain) ของแถบความถ่ี (Frequency band) ท่ีตองการปรับจะเพิ่มขึ้น ทําให ระดับสัญญาณของความถ่ีเสียงทุมและความถี่เสียงแหลมเพิ่มข้ึนดวย เราจะพบวา การปรับยก (Lifting) ความถ่ีเสียงแหลมจะมีประโยชนในการชวยปรับเสียงพูด (Speech)ทําใหมีความชัดเจนของการไดยนิเสียงดีขึ้นโดยชวยกลบเสยีงรบกวนจาก สภาพแวดลอม 


2.    การปรับตัวโพเทนชิออมิเตอร (Potentiometer) ใหหมุนไปทางซาย ระดับสัญญาณของความถี่เสียงทุมและความถ่ีเสียงแหลมก็จะลดทอนลง เราจะพบวา การลดทอนของความถี่เสียงทุมจะมีประโยชนสําหรับหองท่ีมีขนาดใหญๆ ท่ีสวนมาก มักจะมีปญหาจากระยะเวลาความกองสะทอ น (Reverberation time) ของความถ่ีต่ําที่มี ระยะเวลายาวนาน 


73

3. เราไมนิยมทจี่ ะปรับลดทอนความถ่ีเสียงแหลมลง และปรับยกความถี่เสียงทุมข้ึน การปรับยกความถ่ีเสียงทุมสามารถนํามาใชในการขยายเสียงเพลงในหอ งท่ีมี ความหนว ง (Damped room) สูง เราตองการเสียงทุมเพ่ือชวยใหเสียงเพลงมีอรรถรส มากข้ึน แตเราจะตองระวังการขยายของเสียงความถี่ตํ่าแกลําโพงจนโหลดเกิน (Overload)

 

รูปท่ี 45 การควบคุมเสียงทุมแหลม (Tone control)

การใชวงจรตัวปรับควบคุมเสียงทุมแหลม (Tone control) เปนการควบคุมแถบความถี่ท่ีกวาง โดย ปรับยกหรือการปรับลดระดับสัญญาณของความถี่เสียงแหลมและความถี่เสียงทุม

9.1.2 แบบตัวกรองผานแถบหรือแบนดพาสฟลเตอร(Band-passfilter) ตัวกรองผานแถบหรือแบนดพ าสฟลเตอร(Band-passfilter)จะมีตัวกรองผานสูงหรือ ไฮพาสฟลเตอร (Hi-pass filter) และตัวกรองผานตํ่าหรือโลวพาสฟลเตอร (Lo-pass filter) หรือ ตัวกรองตัด (Cut-off filter) ทําหนาที่เปนตวั ปรับลดทุกสัญญาณใหต่ําหรือสูงกวาความถ่ีท่ีได กําหนดไวท่ีโดยปกตแิลวจะเปนความถ่ีที่ตา่ํมากๆหรือความถ่ีสูงมากๆ

  

รูปท่ี 46 การควบคุมแบบแบนดพาสฟลเตอร (Band-pass filter) 74

ในกรณีท่ีเราตอ งการปรับควบคุมความถ่ีแบบเฉพาะแถบ (Specific band) เราสามารถใช เครื่องอีควอไลเซอรแบบตางๆ ในการควบคุมดังน้ี

9.1.3 เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริก(Parametricequaliser)

  

รูปที่ 47 การควบคุมแบบพาราเมตริก (Parametric equaliser)

เครื่องอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริก (Parametric equaliser) เปนเคร่ืองอีควอไลเซอรท่ีมีตัวกรอง 3 ถึง 4 ตัว สามารถปรับควบคุมความถี่โดยปรับแกไขอัตราขยาย (Gain correction) ที่เปน

+ และ – และสามารถเลือกความกวาง (Width) หรือ Q ของแถบความถ่ี การทํางานของ เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริกน้ีสามารถเปล่ียนแปลงแถบความถี่แคบๆ โดยไมกระทบกับ ความถ่ีขางเคียงเนื่องจากมกี ารใชตัวกรองทํางานเพียงไมก่ีตัวดังน้ันผลตอบสนองของระบบ ทั้งหมดจึงคอนขางราบเรียบ (Smooth) โปรดดูหวั ขอ 9.2.4

9.1.4 เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริกทริปเปลQฟลเตอร(ParametrictripleQ-filter)

  

รูปท่ี 48 การควบคุมแบบพาราเมตริกทริปเปล Q ฟลเตอร (Parametric triple Q-filter)

75

โดยปกตแิ ลวเคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริกจะมกี ารต้ังคาลวงหนา แบบตายตวั (Fixed pre-set) ของความถ่ีเสียงกลาง (เสียงพูด) ท่ี 1, 2, และ4 kHz ผูใชงานสามารถใชตัวกรองนี้เลือก ความกวาง(Width)หรือQและความลาดชนั (Slope)ของแถบความถ่ีและการต้ังอัตราขยาย(Gain) ใหทํางานหรือไมทํางานเครอื่ งอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริกทริปเปลQฟลเตอรเปนเคร่ืองมือท่ี เหมาะสมในการควบคุมอัตราขยายแถบความถี่เสียงพูดใหมีความชัดเจนในการไดยนิ เสียงเน่ืองจาก เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริกทรปิ เปลQฟลเตอรจะชวยปรับปรุงในเร่ืองความชัดเจนใน การไดยนิ เสียงและชดเชยในเร่ืองการดูดซึมของอากาศ(Airabsorption)นอกจากนี้ตัวกรองเสียง ทุมท่ีปรับไดจะชวยแกปญหาในการตัดเสียงทุมที่ไมตองการเชนการพดู ใกลไมโครโฟน แบบคารดิออยดมากเกนิ ไป

9.1.5 เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบกราฟฟก(Graphicequaliser)

รูปท่ี 49 การควบคุมแบบกราฟฟก (Graphic equalisation)

เคร่ืองอีควอไลเซอรแบบกราฟฟก (Graphic equaliser) เปนเคร่ืองอีควอไลเซอรที่มีตัวกรอง เฉพาะความถที่ ี่ตายตัว (Fixed) อยู 30 ชอง แตละชองจะมโี พเทนชิออมิเตอรแบบเลื่อน (Sliding potentiometer) หรือเฟดเดอร (Fader) ปรับแถบความถ่ีแคบๆ (1/3 ออกเทฟ) จุดกึ่งกลางของแตละ แถบความถ่ีจะควบคุมจุดยอด (Peak) หรือจุดท่ีมีผลสูงสุด (Maximum effect) สวนความถ่ี ขางเคียงจะมีผลในสัดสวนทลี่ ดลงเมื่อเราปรับควบคุมความถี่ตลอดสเปกตรัมจะสามารถหลอแบบ สัญญาณที่ปรับในแถบความถี่ท่ีตองการเราควรจะหลกี เล่ียงการปรับควบคุมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง มากๆระหวางแถบความถ่ีท่ีอยูขางเคียงกนั เชนมีการปรบั ลดทอนอยางเต็มท่ีท่ีแถบความถ่ีหนึ่ง แลวปรับยกอยางเต็มท่ีท่ีแถบความถ่ีใกลเคียง ทั้งน้ีเพื่อปองกันปญหาของการเลื่อนของเฟส (Phase shifting) มากเกินตองการ นอกจากน้ี เราควรจะปรับควบคุมความถี่ของระดับสัญญาณสูงสุดท้ัง เสียงพูดและเสียงเพลงท่ีอยใู นชวงความถ่ี 250-500 Hz เขาใกล 0 dB เพ่ือปองกันความเพ้ียน (Distortion)ที่เกิดจากการปรบั ระดับเพิ่มท้ังหมด

  

76

9.2 การปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน (Equalisation)

9.2.1 บทนํา
การขยายเสยี งเพ่ือเพ่ิมระดับความดังและคุณภาพของเสียงในหองปด เชนหองออดิทอเรียม (Auditorium) มักจะมีปญหาของการปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) หรือเสียงหอน (Howl) การปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) หรือการเกดิ เสียงหอน (Howl) สามารถเกิดขึ้นไดจ าก การเคล่ือนท่ีของเสียงท่ีแพรก ระจายมาจากลําโพงแลวปอนกลับมาสูไมโครโฟนเม่ืออัตราขยายของ ระบบเสียงคอยๆ เพ่ิมขึ้นจนถึงจุดท่ีระบบเกิดการออสซิลเลต (Oscillation) เราควรลดทอน อัตราขยายลง 6 dB ใหตํ่ากวา ระดับการออสซิลเลตที่เกิดข้ึนเอง เพื่อปองกันการเกิดการกังวาน (Ringing) ของเสียงพูดหรือเสียงเพลง

ตัวอยางของการใชงานที่มีปญ หาเชนระยะหางระหวางไมโครโฟนอยูหางจากผูพูดมากหรือ สภาพแวดลอมมีเสียงรบกวนมาก ทําใหระดับเสียงที่ตําแหนงผูฟงมีระดับตํ่า เมื่อผูใชงานพยายาม ขยายสัญญาณใหสูงขึ้น กจ็ ะเกิดปญหาของการปอนกลับของเสียง (เสียงหอน) หรือการกังวาน (Ringing) ของเสียง วิธีการปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน (Equalisation) จะชวยลดปญหา การปอนกลับของเสียง ทําใหคุณภาพของเสียงท้ังระบบดีข้ึน ทาํ ใหเ ราสามารถเพิ่มอัตราขยายของ ทั้งระบบสูงขึ้น นอกจากน้ี หองบางหองที่มีปญหาของความชัดเจนในการไดย ินเสยี งจากวัสดุที่ใช ตกแตง การปรับเทาหรืออีควอไลเซชันจะชวยปรับผลตอบสนองความถ่ีของท้ังระบบดีขึ้นได

แมวาการเลือกใชไมโครโฟน เครื่องขยายเสยี ง และลําโพงที่ดี จะเปน วิธกี ารสําคัญท่ีทําให ผลตอบสนองความถี่ของระบบดีขึ้น แตถาระบบยังมีปญหาอยูอีก การปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน ก็ยังเปนวิธีเสรมิในการปรับปรุงผลตอบสนองความถี่ของระบบใหดีย่ิงข้ึน

9.2.2 วงรอบการปอนกลับของเสียง(Theacousticfeedbackloop) วงรอบการปอนกลับของเสียง(Theacousticfeedbackloop)สามารถเกิดขึ้นตามลําดบั ดังนี้

1.    ไมโครโฟน 


2.    เคร่ืองขยายเสยี งและตวั ปรับควบคุมความดัง (Volume control) พรอมตัวปรับควบคมุ 
เสียงทุมแหลม (Tone control) 


3.    ลําโพง 


4.    การแพรกระจายของเสียงจากลําโพงปอนกลับไปยังไมโครโฟน 77 


  

 

รูปท่ี50วงรอบการปอนกลบั ของเสียง(Theacousticfeedbackloop)

การแพรกระจายของเสียงจากลําโพงปอนกลับไปยังไมโครโฟนมีอยู 2 ทิศทางคือ

1.    ทิศทางตรงจากลําโพงไปยังไมโครโฟนที่เรียกวา สนามเสียงทิศทางตรง (Direct sound 
field) 


2.    ทิศทางที่เกิดจากการสะทอนครั้งเดียวหรือหลายคร้ังที่เรียกวา สนามเสียงแพรซึม 
(Diffused sound field) 


9.2.3 การปอนกลับของเสียงท่ีเรโซแนนซ(Resonantacousticfeedback)
การปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) คือการออสซิลเลตท่ีเกิดขึ้นเอง (Spontaneous oscillation) โดยมีสาเหตจุ ากการสงผาน (Transmission) ของเสียงที่แพรกระจายออกจากลําโพง ท่ี เปนขาออกของระบบ (System output) แลวปอนกลับเขามายังไมโครโฟน ที่เปนขาเขาของระบบ (System input)

ถาอัตราขยายของระบบคอยๆ เพ่ิมขึ้น ถึงจุดที่มีการออสซิลเลตท่ีเกิดข้ึนเอง (Spontaneous oscillation)ระบบจะเกดิ การปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)หรือเสียงหอน(Howl)ข้ึน การปอนกลับของเสียงที่เรโซแนนซ (Resonant acoustic feedback) สามารถเกิดข้ึนไดทุกๆ ความถ่ี ถา

1. มมุ ของเฟส(Phaseangle)ของการสงผาน(Transmission)ของเสียงถึงวงรอบ การปอนกลับของเสียง (The acoustic feedback loop) มีคาเทากับศูนย และ
2. เสียงจากลําโพงท่ีปอนกลับเขามายังไมโครโฟนมีระดับความดังสูงกวา เสียงจาก

แหลงกําเนิดหรืออัตราขยายของวงรอบมคี ามากกวาหรอื เทากับ1(Loopgain≥1) วงรอบน้ีจะเกดิข้ึนซํ้าๆไดดวยตวัเองและสรางอัตราขยายเพ่ิมข้ึนจนกระท่ังเสียงมีระดับความดัง

สูงสุดเทาท่ีระบบจะสามารถขยายได วิธีแกไ ขเบ้ืองตนคือ เราตองปรับลดตัวปรับระดบั ความดังลง

78

แมวาระบบเสียงจะมกี ารปรับอัตราขยายใหต่ํากวาอัตราขยายวิกฤติ(Criticalgain)การปอนกลับจะ ยืด (Prolong) สวนประกอบของเสียงท่ีความถ่ีวิกฤติ (Critical frequency) ทําใหเกิดเปน เสียงกังวาน(Ringing)หรือเสียงหอน(Howl)ข้ึนการปรับสวนเผื่อเสถียรภาพการปอ นกลับ (Feedback stability margin) หรือ FSM โดยลดอัตราขยายตํ่ากวาระดับท่ีมีการออสซิลเลตท่ีเกิดขึ้น เอง(Spontaneousoscillation)6dBจะปองกันการเกิดเสียงกังวาน(Ringing)ในชวงทมี่ ีเสียงพูด หรือเสียงเพลง

9.2.4 หลักการการปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน(Principlesofequalisation) ระบบเสียงในอุดมคติคือระบบเสียงที่มีผลตอบสนองความถี่ที่ราบ (Flat frequency response) ตลอด แถบความถี่คล่ืนเสียง เมื่อเราพิจารณาเฉพาะอุปกรณระบบเสียงท่ีนํามาใชเพียงอยางเดียว การปรับควบคุมระบบเสียงใหมีผลตอบสนองความถี่ที่ราบสามารถกระทําไดโดยไมค อยมีปญหา แตถาเราพิจารณาถึงระบบเสยี งท้ังระบบ โดยรวมถึงการแพรกระจายของเสียงในหองปดที่มักมี ปญหาผลตอบสนองความถ่ีเราจะพบปญหาการปอนกลบั ของเสียง(Acousticfeedback)ท่ีสามารถ เกิดข้ึนเองไดการปรับควบคุมโดยการปรบั ยกหรือการลดทอนความถหี่ รือแถบความถ่ีที่มีปญหา เราเรียกวาการปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน (Equalisation)

รูปท่ี 51 ผลตอบสนองความถ่ีของระบบ

สมมติวาเราวดั ผลตอบสนองความถ่ีของระบบ(โปรดดูหัวขอ9.2.5)โดยมีกราฟของ ผลตอบสนองความถี่ดังรูปที่ 51 เราจะพบวา ความถ่ีท่ีวิกฤตและอาจจะเปนปญหาการเกิด การปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) คือท่ีความถ่ี 160 Hz และ 3.4 kHz

 

79

รูปที่ 52 ผลตอบสนองความถี่ของอีควอไลเซชัน

จากรูปที่52ถาเราทําการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันโดยปรับความถี่ใหมีความถ่ีเหมอื นภาพเสมือน ในกระจกเงา(Mirrorimaged)กลาวคือเราจะขยายระดับสัญญาณของความถี่ท่ีมีระดบั สัญญาณตํ่า พรอมกับลดทอนระดับสัญญาณของความถี่ท่ีมีระดับสัญญาณสูงจนนาจะเกิดเรโซแนนซได การใช เคร่ืองอีควอไลซอรแบบกราฟฟก (Graphic equaliser) หรือเครื่องอีควอไลเซอรแบบพาราเมตริก (Parametric equaliser) หรือเครื่องอีควอไลเซอรแบบอัตโนมัติที่กําจัดการปอนกลับ (Feedback exterminator) จากการทํางานจากตวั กรองแถบแคบ (Narrow band filters) จํานวนหนงึ่ ปรับความถ่ี วิกฤต(Criticalfrequency)และยังคงคาสวนเผ่ือเสถียรภาพการปอนกลบั (Feedbackstability margin) หรือ FSM ท่ี 6 dB

รูปที่ 53 ผลตอบสนองความถ่ีของระบบ หลังอีควอไลเซชัน

จากรูปท่ี53เราจะพบวาหลังจากทําการปรบั เทาหรืออีควอไลเซชันแลวผลตอบสนองความถี่ของ ท้ังระบบจะมคี ุณสมบัติคอนขางราบ

80

เราไมไดกําหนดวิธีการเฉพาะวา หองแบบใดควรจะตองทําการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันอยางใด เราจึงควรวดั ผลตอบสนองความถ่ีของท้ังระบบกอนแลวจึงเลือกเครื่องอีควอไลเซอรที่เหมาะสม ปรับแตงระบบเสียงใหผลตอบสนองความถี่ของทั้งระบบมีคุณสมบัติคอนขางราบ มีอัตราขยาย ตลอดยานความถ่ีสูงสุดเทาท่ีจะทําไดและรกั ษาอัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวนใหมีคาสูงไว หลังจากนนั้ เราควรจะทดสอบดวยการฟงเสียงเน่ืองจากผลตอบสนองของระบบที่ราบไมไดแปลวา ผลของการฟงจะเปนแบบราบเหมือนกนั บางครั้งเราอาจจะตองปรับแตงความถ่ีสูงท่ีสูงกวา1kHz ในอัตรา 3 dB ตอ ออกเทฟ (Octave)

9.2.5 วงรอบการปรับเทาหรือลูปอีควอไลเซชัน(Loopequalisation)

รูปที่ 54 วงจรการทดสอบวงรอบการปรับเทาหรือลูปอีควอไลเซชัน (Loop equalisation)

เราควรจะทําการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของทั้งวงรอบ ในงานระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต (Soundreinforcement)สําหรับเสียงพูดท่ีมปี ญหาของการปอนกลับของเสียงอุปกรณตางๆ ประกอบดว ยไมโครโฟนระบบ (System microphone) เคร่ืองขยายเสียง ลําโพง และหอง

วิธีการทดสอบสามารถกระทําไดโดยใชอปุ กรณการทดสอบ (Test unit) ท่ีสรางสัญญาณเสียงรัว (Warbled tone) แบบ 1/3 ออกเทฟ (Octave) ที่มีความถี่ระหวาง 20 Hz ถึง 20 kHz แลวปอน สัญญาณดังกลา วไปยังเคร่ืองขยายภาคกําลงั หรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier) เสียงท่ีเกิดขนึ้ จะสะทอนพ้ืนผิวของหองแลวเดินทางกลับไปยังไมโครโฟนระบบ(System microphone) จากน้ันอุปกรณทดสอบ (Test unit) จะวาดผลตอบสนองความถี่บนเคร่ืองบันทึกของ อุปกรณทดสอบ (โปรดดูรูปของผลตอบสนองความถี่จากรูปท่ี 51)

   

81

นอกจากนี้ เรายังสามารถทําการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันอีกวิธีหนึ่ง โดยปอนสัญญาณพิงกนอยส (Pink noise) เขายังระบบ แลววัดผลตอบสนองความถ่ีของระบบดวยเคร่ืองวิเคราะหสเปกตรัม เวลาจริงแบบ 1/3 ออกเทฟ (1/3 octave real time spectrum analyzer) สําหรับวิธีการปรับเทาหรือ อีควอไลเซชันแบบน้ี จะเหมาะสมกับการใชเคร่ืองอีควอไลเซอรแบบกราฟฟก (Graphic equaliser) แบบ 1/3 ออกเทฟ (Octave)

9.2.6 การปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของลําโพง(Loudspeakerequalisation)

รูปท่ี 55 วงจรการทดสอบการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของลําโพง (Loudspeaker equalisation)

สําหรับระบบเสียงท่ีใชถายทอดเสียงเพลงท่ีบันทึกไวกอน เราจะเจาะจงเฉพาะการวัดเสียงท่ี แพรกระจายออกมาจากลําโพง ในกรณีนี้เราจะใชไมโครโฟนท่ีไดรับการปรับเทียบการวัด (Calibrated measuring microphone) ต้ังไวท ่ีตําแหนงของผูฟง (จุดเฉลยี่ ) แลวเราจะทาํ การปรับเทา หรืออีควอไลเซชันเฉพาะเครื่องขยายภาคกําลังหรือเพาเวอรแอมพลิไฟเออร (Power amplifier) ลําโพงและหอ ง

วิธีท่ีสะดวกทสี่ ุดคือปอนสัญญาณพิงกนอยส(Pinknoise)เขายังชองขาเขาแบบไลน (Lineinput)ของเคร่ืองขยายเสียงของระบบแลววดั ผลตอบสนองความถี่ของระบบดวย เคร่ืองวิเคราะหสเปกตรัมเวลาจริงแบบ 1/3 ออกเทฟ (1/3 octave real time spectrum analyzer) ที่ ตําแหนงของผฟู ง

การใชเคร่ืองอีควอไลเซอรแบบกราฟฟก (Graphic equaliser) แบบ 1/3 ออกเทฟ (Octave) ทําการ ปรับเทาหรืออีควอไลเซชัน จึงเปนวิธีที่งายและสะดวกมาก

   

82

9.2.7 การปรับเทาหรืออีควอไลเซชันของลําโพงและวงรอบการปรับเทาหรือ ลูปอีควอไลเซชัน (Loudspeaker equalisation and Loop equalisation)

สําหรับระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต (Sound reinforcement) หรือระบบเสียงท่ีใชในการถายทอด เสียงเพลง เราจะทําการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันท้ัง 2 อยาง โดยจะทาํ การปรับเทาหรือ อีควอไลเซชันของลําโพงกอนเปนลําดับแรก แลวจงึ เพ่ิมเคร่ืองอีควอไลเซอร (Equaliser) ตอกับ ชองตอไมโครโฟนระบบ (System microphone channel) ทําการปรับเทาหรืออีควอไลเซชันอีกคร้ัง หน่ึง

 

83

    

10.0 เครื่องไทมดีเลย (Time delay)

  

ปญหาเวลาการเดินทางของเสียงมักจะเกิดข้ึนจากการใชงานระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต(Sound reinforcement) ในหองออดทิ อเรียม (Auditorium) ขนาดใหญ โดยปกตแิ ลว เราจะติดต้ังลําโพง หลายๆตัวทางดานซายและดานขวาของหองโดยเร่ิมติดตั้งต้ังแตดานขางของเวทีและกระจายไป ตามแนวความยาวของหองออดิทอเรียม เมอื่ ลําโพงทั้งหมดกระจายเสยี งออกมาพรอมๆ กัน ผูฟงจะ ไดยินเสียงจากลําโพงตัวท่ีอยูใกลที่สุดแทนที่จะไดยนิ จากลําโพงที่อยูขางเวทีบางครงั้ ผูฟงจะเห็น ภาพและยินเสียงที่เกิดขน้ึ คอนขางขัดแยงกนัจากเหตุของการเดินทางของเสียงเราสามารถแกไข ปญหาดังกลาวได โดยใชเ คร่ืองไทมดีเลย (Time delay equipment) ประวิงเวลาเสียงท่ีกระจายออก จากลําโพงแตล ะตัวหรือแตล ะกลุม

เนื่องจากเสยี งเดินทางในอากาศดวยความเรว็ ประมาณ 340 เมตรตอวินาที หรือประมาณ 5 เมตรตอ 15มิลลิวินาทีดังนั้นเราสามารถคํานวณปรับแตงและประวิงเวลาเสียงใหเดนิ ทางจากลําโพงที่อยู ขางหลังชากวา ลาํ โพงที่อยูขางหนา ประมาณ 5 ถึง 15 มิลลิวินาที เวลาดงั กลาวจะแปรผันตาม ระยะทางเราควรปรับระดับความดังของลําโพงท่ีอยูขางหลังไมใหด ังเกิน10dBเทียบกับระดับ ความดังของลําโพงตัวแรก เสียงที่เกิดข้ึนทงั้ ระบบก็จะเหมือนกับวามเี สียงดังจากลําโพงตัวแรก ตัวเดยี ว

นอกจากนี้ การใชระบบเสียงในสถานที่ท่ีมีระยะทางไกลๆ เชนสถานีรถไฟ ทําใหระบบมีปญหา เวลาการเดนิ ทางของเสียงของลําโพงท่ีอยูขางหนาเทยี บกบั ลําโพงท่ีอยูขางหลัง เปนผลใหเกดิ ปญหา เสียงกอง(Echo)และเสียงกอ งสะทอน(Reverberation)เวลาที่เราตองการประกาศเราสามารถ แกไขปญหาดงั กลาวไดโดยใชเคร่ืองไทมด ีเลย (Time delay equipment) ประวิงเวลาเสียงที่กระจาย อ อ ก จ า ก ล ํ า โ พ ง แ ต  ล ะ ต ั ว ห ร ื อ แ ต  ล ะ ก ล  ุ ม เ ร า จ ะ ป ร ั บ แ ต  ง เ ส ยี ง ใ ห เ  ด ิ น ท า ง จ า ก ล ํ า โ พ ง ท ่ ี อ ย  ู ข  า ง ห ล ั ง ช  า กวาลําโพงท่ีอยูขางหนาเสยีงจากลําโพงทกุตัวกจ็ะสัมพนัธ(Synchronise)กันระบบจะมีความ ชัดเจนของการไดยินเสยีงดขี้ึนทั้งน้ีเราควรจะเลือกลําโพงแบบเดยีวกนั และติดตั้งลําโพงโดยเล็ง มุมไมใหเสยี งเดินทางยอนไปทางดานหนา

84

 

รูปที่56แสดงเสียงที่ออกจากลําโพงโดยไมมีการใชเครอื่ งไทมดีเลยประวิงเวลา

 

รูปท่ี 57 แสดงเสียงที่ออกจากลําโพงโดยมกี ารใชเคร่ืองไทมดีเลยประวงิ เวลา

85

    

11.0 เครื่องบีบอัดและเครื่องจํากัดขนาด (Compressor & Limiter)

  

เครื่องบีบอัดและเครื่องจํากัดขนาด (Compressor & Limiter) เปนเครื่องมือที่ใชปรับลดทอนระดับ สัญญาณขาเขาใหมีระดับสัญญาณแกวงอยภู ายในคาของจุดเร่ิมเปล่ียนท่ีไดต้ังคาไวก อ น(Pre-set thresholdlevel)ระดับสัญญาณขาเขาท่ีอยตู ํ่ากวาจดุ เริ่มเปลี่ยน(Threshold)จะไมมผี ลการ เปล่ียนแปลงแตระดับสัญญาณขาเขาท่ีอยสู ูงกวาจะมีการลดทอนเราจะต้ังคาเวลาแอตแทก(Attack time) ไวที่ประมาณ 1 มิลลิวินาที ในขณะที่ต้ังเวลารีลีส (Release time) ที่สามารถปรับคาไดตาม การใชงานเชน ต้ังเวลาส้ันสําหรับเสียงพดู ประมาณ100มิลลิวินาทีและต้ังเวลายาวสําหรับ เสียงเพลง ประมาณมากกวา 1 วินาที

11.1 เคร่ืองบีบอัด (Compressor)

เคร่ืองบีบอัด (Compressor) จะลดทอนระดับคายอดของสัญญาณขาเขาที่อยูสูงกวาจุดเริ่มเปลี่ยน (Threshold)ประมาณ1/3(คาdB)ของคาท่ีมีอยูโดยไมส รางความเพ้ียน(Distortion)เชนระดับ สัญญาณขาเขาท่ีเพ่ิมขึ้น 30 dB จะถูกลดคาลงเหลือระดับสัญญาณขาออกเพียง 10 dB เราใชเครื่องบีบอัดสําหรับเสียงเพลงแบก็ กราวด(Backgroundmusic)ลดทอนไดนามิกเรนจ (Dynamicrange)ที่มีคาสูงๆจากการบันทกึ เสียงของซีดี(CD)เราจะต้ังคาเวลารีลีส(Releasetime) ไวท่ีประมาณมากกวา1วินาทีเพ่ือปองกนั การเกดิ เสียงเพลงที่ไมเปนธรรมชาติเชนเสียงข้ึนๆลงๆ (Pumping)

รูปที่ 58 กราฟของเคร่ืองบีบอัด (Compressor)

86

11.2 เคร่ืองจํากัดขนาด (Limiter)

เคร่ืองจํากัดขนาด(Limiter)จะจํากัดระดบั คายอดของสัญญาณขาเขาท่ีอยูสูงกวาจุดเร่ิมเปล่ียน (Threshold) ระดับสัญญาณขาออกจะมีคาคงท่ีอยูคาหน่ึงเชน 1 โวลต โดยไมสรางความเพ้ียน (Distortion) เราใชเครื่องจํากดั ขนาดสําหรบั ไมโครโฟนประกาศ เพ่ือจาํ กัดคาของระดับสัญญาณ ขาออกใหมีคาคงท่ีทําใหเสียงลักษณะตางๆที่พูดจากผูพดู เชนเสียงท่ีผพู ูดพูดใกลกับไมโครโฟน (ดัง)เสียงที่ผูพูดพูดไกลจากไมโครโฟน(คอย)เสียงผูชายหรือเสียงผหู ญิงมีระดับสัญญาณท่ีคงที่ เราจึงสามารถใชระดับคายอดสูงสุดไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด การปรับคาตางๆ ของอุปกรณที่ เหลือในระบบจะมีระดับสัญญาณขาออกทไี่ มมีความเพยี้ น (Distortion)

รูปที่ 59 กราฟของเคร่ืองจํากัดขนาด (Limiter)

87

    

12.0 เครื่องควบคุมระดับความดงั อัตโนมัติ (Automatic volume control)

  

เคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) หรือ AVC เปนเครื่องมือท่ีใช ควบคุมคาระดบั ความดังของการประกาศในระบบเสียงสาธารณะ(Publicaddress)ใหส ัมพันธกับ ระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบ (Ambient noise) ทําใหเกิดความม่ันใจวาผูฟงจะได ยินเสียงท่ีมีความชัดเจนในการไดยินเสียงสูงโดยไมไดม ีการรบกวนจากเสียงรบกวนโดยรอบ

เครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) มีวิธีทํางานโดยอาศัย ไมโครโฟนท่ีตออยูกับชองขาเขาตรวจจับ (Sensor input) วัดระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอม โดยรอบ (Ambient noise) แลวขยาย (Amplify) เรยี งกระแส (Rectify) และนําไปใชเปนคาระดับ สัญญาณเปรียบเทียบกับคาระดับสัญญาณที่ไดต้ังคาไว

เครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) จะตงั้ อัตราขยายของระบบ ในขณะท่ีระดบั เสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบมีคาสูงตอเมื่อระดับเสียงรบกวนจาก สภาพแวดลอมโดยรอบมีคาลดลงเครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมตั ิ(Automaticvolume control)จะลดทอนอัตราขยายของระบบใหเหมาะสมกับระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอม

โดยปกตแิ ลวเคร่ืองควบคุมระดับความดังอตั โนมัติ (Automatic volume control) จะสามารถควบคุม การลดทอน(Attenuation)อยูท่ีคาระหวาง6ถึง21dBข้นึ อยูกับระดบั ความดังสูงสุดของ ระบบเสียงที่สามารถรับไดตัวอยางเชน ถาเรากําหนดระดบั ความดังสูงสุดของเสียงประกาศที่ผูฟง สามารถฟงไดอยางสบาย ท่ี 80 dB (SPL) เราเลือกลําโพงท่ีผานการคํานวณมาแลวใหระดับ ความดังที่ 89 dB (SPL) ดังน้ัน คาที่เหมาะสมสําหรับเคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) คือ 9 dB

เคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) ท่ีสามารถควบคุมระดับ สัญญาณได 21 dB เปนอุปกรณท่ีใชในงานระบบเสียงสาธารณะเราสามารถควบคุมการลดทอน ระดับความดนั เสียงสูงสุดได101dB(SPL)หรือคิดเปน ระดับสัญญาณ21dBสูงกวาระดับเสียงท่ี ผูฟงสามารถฟงไดอยางสบาย คือท่ี 80 dB (SPL)

88

เครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) เปนอุปกรณที่ไดรบั การตั้งคาไวกอ นจากโรงงาน(Factorypre-set)ดังน้ันเราจึงควรปรับอัตราขยายของไมโครโฟนที่ตอ กับชองขาเขาตรวจจับ (Sensor input) ใหสัมพันธกับโซนลําโพง (Loudspeaker zone) ท่ีเราตองการ ควบคุม และเวลาท่ีต้ังใหม (Reset time)

ถาเราใชไมโครโฟนในโซนลําโพงที่มีการควบคุมของเคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automaticvolumecontrol)เราจะตองปรบั อัตราขยายใหเหมาะสมกบั การปอนกลบั ของเสียง (Acoustic feedback) ในขณะท่ีระดับเสยี งรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบมีคาลดลง เครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติจะลดทอนอัตราขยายของระบบ แตเมื่อระดับเสียงรบกวนจาก สภาพแวดลอมโดยรอบมีคาสูงขึ้นเคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมตั ิจะเพ่ิมอัตราขยายของ ระบบและมีโอกาสเกิดการปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)เราจะตองปรับอตั ราขยาย ใหเหมาะสมโดยไมควรใหเกิดการปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)และปรบั อัตราขยาย ใหเหมาะสมกบั ระดับสัญญาณท่ีตํ่าจากไมโครโฟนเน่ืองจากการพดู เบาไปหรือการพดู หางจาก ไมโครโฟนมากเกินไป

89

    

13.0 คุณสมบัติทางเทคนิคของเครื่องขยายเสียงและอุปกรณประกอบ

  

13.1 คุณสมบัติทางเทคนิค (Specification)

13.1.1 ผลตอบสนองความถ่ี(Frequencyresponse)

รูปที่ 60 ผลตอบสนองความถี่ที่ราบ (Flat frequency response)

รูปที่ 60 แสดงกราฟผลตอบสนองความถ่ีที่ราบ (Flat frequency response) ของเครื่องขยายเสียงที่ เหมาะกับการขยายเสียงเพลง

เราสามารถเขียนคุณสมบัตทิ างเทคนิค(Specification)เก่ียวกับผลตอบสนองความถี่ที่ราบแบบนี้ โดยเราจะระบคุ วามถี่ที่จุดท่ีเสนโคงของผลตอบสนองความถ่ีตกลงมาจากระดับปกติ3dB
รูปที่ 60 แสดงตัวอยางผลตอบสนองความถี่ คือ 63 Hz ถึง 16 kHz

เมื่อเราเขียนคณุ สมบัติทางเทคนิคเกี่ยวกับผลตอบสนองความถ่ีของเคร่ืองขยายภาคกําลังหรือ เพาเวอรแ อมพลิไฟเออร(Poweramplifier)ระดับที่เราควรวัดคือ10dBตํ่ากวากําลังขาออก ที่ระบุ (Rated output power)

เราควรจะศกึ ษาคุณสมบัติทางเทคนิคเกี่ยวกับผลตอบสนองความถ่ีอยางละเอียดเน่ืองจาก ผูผลิตจะระบุผลตอบสนองความถี่ท่ีมาตรฐานตางกันเชน ถาผูผลิตระบุผลตอบสนองความถ่ีท่ีวัดที่ –6 dB ผลตอบสนองความถี่ก็จะกวางกวาท่ีกําหนดไวท่ี –3 dB

  

90

13.1.2 แบนดวิดทของกําลัง(Powerbandwidth)
แบนดว ิดทของกําลัง (Power bandwidth) คือชวงความถี่ทเ่ี ครื่องขยายเสยี งสามารถขยายไดตาม กําลังที่ระบุ(Ratedpower)โดยกําหนดไวท ่ี–3dBรวมกับระดับความเพ้ียนสูงสุด(Maximum distortion level หรือ Total harmonic distortion) หรือ THD ตามที่ผูผลิตไดระบุไว เชน เครื่องขยายเสยี งสําหรับระบบเสียงสาธารณะ (Public address) หรือ PA จะมี THD = 0.5%

13.1.3 ความเพยี้นเชิงเสน(Lineardistortion) ถาเคร่ืองขยายเสียงไมสามารถขยายสัญญาณตลอดยานความถ่ีท้ังสเปกตรัม (Spectrum) ไดอยาง สมมาตรแลว รูปคล่ืน (Waveform) ท่ีขยายจะมีรูปรางเปล่ียนไปโดยมรี ูปรางเหมือนกับเราใช ตัวควบคุมทุมแหลม (Tone control) ปรับสัญญาณ การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณนี้ เราเรียกวา ความเพยี้ นเชิงเสน (Linear distortion) ถาคาของความเพ้ียนดังกลาวมีคาสูงสุดแลว เสียงที่เรา ปอนเขาเคร่ืองขยายเสียงจะมสี ัญญาณขาออกผิดเพยี้ นอยางสุดโตง เชน สัญญาณขาเขาเปน เสียงกีตาร สัญญาณขาออกอาจเปนเสียงเปย โน

13.1.4 ความเพยี้นไมเชิงเสน(Nonlineardistortion)หรือการขริบ(clipping)หรือ ความเพยี้ นเชิงฮารมอนิกท้ังหมด (Total harmonic distortion) หรือ THD

ถาเราปอนสัญญาณที่มีระดับสัญญาณสูงเกินไปเขาเคร่ืองขยายเสียง แรงดันไฟฟาของสัญญาณ ขาออกก็จะถกู ขริบ (Clip) ออก เนื่องจากระดับสัญญาณขาเขาดังกลาวมีขนาดมากกวา ไดนามิกเรนจ (Dynamic range) ของเคร่ืองขยายเสียง เราเรียกผลท่ีเกิดขนึ้ น้ีวา ความเพยี้ นไมเชิงเสน (Non linear distortion)เนอื่ งจากการขรบิ ออกของแรงดันไฟฟาทําใหรูปคลื่นสัญญาณกลายเปน คล่ืนจัตุรัส (Squarewave)จนคล่ืนสัญญาณมีฮารมอนกิ (Harmonic)เพ่ิมขึ้นเราจึงเรียกวาความเพ้ียนเชิง ฮารมอนิกทั้งหมด (Total harmonic distortion) หรือ THD ผลท่ีเกิดขึ้นก็คือการเปล่ียนแปลงเสียง โดยไมไดมีการแตงเสียง

รูปท่ี 61 ระดับสัญญาณขาเขาท่ีสูงเกินไปของเครื่องขยายเสียง 91

     

ปญหาอีกประการหนึ่งที่จะเกิดข้ึนก็คือ เมอ่ื มีกระแสไฟฟาจากเครื่องขยายเสยี งมีคาเพ่ิมข้ึนจน เกินกําหนดเครื่องขยายเสียงจะสงพลังงานไปยังลําโพงมากจนเกินพกิ ัดของคากําลังที่ลําโพง สามารถรับได (Loudspeaker power handling capacity) หรือ PHC ลําโพงก็อาจจะเสียหายได

13.1.5 กําลังขาออกท่ีระบุ(Ratedoutputpower)

รูปท่ี 62 กราฟของคายอดสูงสุดเทียบกับคาเฉล่ีย

กําลังขาออกท่ีถูกความเพยี้ นจํากัดที่ระบุ (Rated distortion limited output power) หมายถึงคากําลัง ของเครื่องขยายเสียงที่สามารถจายใหแ กโหลด(Load)ท่ีมีอิมพีแดนซตามความถี่หรือแถบความถ่ี (1kHz)โดยมคี าความเพี้ยนไมเกินความเพี้ยนเชิงฮารมอนิกทั้งหมด(Totalharmonicdistortion) หรือTHDตามคาท่ีไดระบุไวท้ังน้ีเปน ไปตามมาตรฐานIEC268-3

การพูดดังเกินไป หรือการเปล่ียนแปลงของเสียงเพลงทันทีทันใด สามารถทําใหเสียงเกิดคายอด สูงสดุ (Peak) ได โดยทว่ั ไปแลว เราควรปรับใหเสียงพดู และเสียงเพลงมีระดับคายอดสูงสุดของ แรงดันไฟฟาประมาณ3เทาของคาเฉล่ียโดยไมเกิดความเพี้ยนของการขยายเสียงพดู และเสียงเพลง

เราสามารถแสดงในรูปของ dB คือ 20 log 3 = 10 dB ในที่น้ี เรากําหนดคา 10 dB เปนอัตราสวน กําลัง เราจะพบวาคายอดสูงสุดของกําลัง (Peak power) มีคาประมาณ 10 เทาของคาเฉล่ียของกําลัง (Average power) เราเรียกคายอดของกําลังนี้วา กําลังที่ระบุ (Rated power) ของเคร่ืองขยายเสียง ตัวอยางเคร่ืองขยายเสียงขนาดกําลัง100วตั ตมีความไวของสัญญาณขาเขา(Inputsensitivity)
100 mV หมายความวาเครื่องขยายเสียงสามารถใหกําลังขาออก 100 วัตต เม่ือระดับแรงดันไฟฟา ของสัญญาณขาเขามีคา100mVขนาดกําลงั 100วัตตของเครื่องขยายเสียงคือคากําลังขาออกสูงสุด ที่เคร่ืองขยายเสียงสามารถจายไดโดยยังคาความเพย้ี นต่ํากวาท่ีไดระบุไว

 

92

ภายใตภาวะปกติ ถาเราสมมติใหคาเฉล่ียของแรงดันไฟฟามีคา 33 mV เพ่ือใหคายอดสูงสุดของ แรงดันไฟฟามีคา100mVคาเฉล่ียของกําลังขาออกจะมคี าเพียง10วัตตเพื่อใหคายอดสูงสุดของ กําลังขาออกมีคา 100 วัตต หมายความวาเครื่องขยายเสียงจะทํางานเพียง 10% ของคากําลังท่ีระบุ (Rated power) หรือคายอดสงู สุด (Peak)

13.1.6 กําลังขาออกที่ถูกอุณหภูมิจํากัด(TemperatureLimitedoutputpower,TLOP)
มาตรฐาน IEC 65 ไดกําหนดมาตรฐานเกยี่ วกับเคร่ืองขยายเสียงท่ีทํางานภายใตภาวะตา งๆ ท่ีไม เอื้ออํานวยวา จะตองทํางานตอเน่ืองได 12.5% ของขนาดกําลังขาออกที่ไดระบุ (Rated output power)โดยไมมีสวนประกอบอิเล็กทรอนิกสตัวใดมีความรอนสูงเกนิ ไปตัวอยางเชนถามีการใช เคร่ืองขยายเสยี งจํานวนหลายเครื่อง แตละเคร่ืองมีขนาดกาํ ลัง 100 วัตต อุณหภูมิโดยรอบ (Ambient temperature) 45°C และแรงดันไฟฟามีคา +10% เกินกวาคาของแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) ติดต้ังในตแู ร็ก(Rack)ขนาดมาตรฐาน19น้ิวและวางอยเูหนือท่ีกนั และกันเคร่ืองขยายเสียงจะตอง จายกําลังเฉล่ียได 12.5 วัตต ไดอยางตอเนอื่ งตลอด 24 ชม. โดยไมเกิดความรอนสูงเกินไป (Overheating)

93

13.2 การปรับระดับสัญญาณในระบบ(Adjustingsignallevelsinasystem)

13.2.1 ไมโครโฟน(Microphone) เราตอพวงไมโครโฟนที่ใชสําหรับประกาศกับเครื่องขยายภาคตน (Preamplifier) และ เครื่องจํากัดขนาด(Limiter)เราจะปรับระดับสัญญาณท่ีเดินทางในสายไมโครโฟนไวอ ยาง เหมาะสมเครอื่ งจํากัดขนาดจะจํากัดระดับสัญญาณขาออกสูงสุดไวที่0dBV(=1V)เราควรจะปรับ โพเทนชิออมิเตอร(Potentiometer)ของเคร่ืองขยายภาคตนเพ่ือปรับอตั ราขยายกอนแลวจึงปรับ เครื่องจํากัดขนาดใหเหมาะสมกับระดับเสียงของผูประกาศและ/หรือระดับเสียงทที่ ําใหเกดิ การปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) ระดับคายอดสูงสุดของสัญญาณจะทําให เคร่ืองจํากัดขนาดทํางาน ดังน้ัน ระดับสัญญาณเฉล่ียของเสียงพูดควรจะปรับอยูที่คา –8 dBV เพื่อใหคายอดสูงสุดของสัญญาณเขาใกลคา 0dBV

13.2.2 อุปกรณประกอบสําหรับการประมวลสัญญาณ(Signalprocessingequipment) ถามีการใชงานเก่ียวกบั อุปกรณประกอบสาํ หรับการประมวลสัญญาณ (Signal processing equipment) อ่ืนๆ เชน เคร่ืองอีควอไลเซอร เคร่ืองไทมดีเลย เปนตน เราควรจะปรับตงั้ อัตราขยาย โดยหลีกเลยี่ งไมใหเกิดอัตราขยายหรือการลดทอนของเสียงพูดและเสียงเพลงท่ีไมตอ งการและ สามารถตรวจสอบได โดยใชสัญญาณพิงกนอยส (Pink noise) สําหรับอุปกรณกําเนิดสัญญาณตางๆ เชนสัญญาณเตือนกอนประกาศสัญญาณเตือนภยั เราควรปรับใหระดบั สัญญาณมีเฉล่ียคาท่ี–8dBV และสามารถตรวจสอบไดจากวยี มู ิเตอร (VU meter) บนเคร่ืองขยายเสียงโดยใหมีคา 0

13.2.3 เคร่ืองขยายเสยีง(Amplifier)
เครื่องขยายเสยี งตองการระดับสัญญาณขาเขา 0 dBV เพ่ือสามารถจายแรงดันไฟฟาขาออกได
100 โวลตที่อิมพีแดนซของโหลดท่ีระบุ เรากําหนดคาความเพยี้ นเชิงฮารมอนิกท้ังหมด (Total harmonicdistortion)หรือTHDแบนดวดิ ทของกําลัง(Powerbandwidth)อัตราสวนสัญญาณตอ สัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio) เปนตน สําหรับระดับสัญญาณขาออกที่ระบุ ตามมาตรฐาน IEC 268-3, DIN45500 FTC และอ่ืนๆ กําลงั ขาออกที่ถูกอุณหภูมิจํากดั (Temperature limited output power) หรือ TLOP ตามมาตรฐาน IEC 65 ไดกําหนดใหก ําลังขาออกมีคา 9 dB ตํ่ากวา กําลังขาออก ท่ีระบุ(Ratedoutputpower)ภายใตภาวะการทํางานที่หนกั ท่ีสุดและวัดกําลังขาออกท่ีมีการระบาย อากาศท่ีภาคขยายกําลัง (Amplifier power stage) ท่ีอาจจะมีตัวระบายความรอน (Heat sink) หรือ พัดลมระบายอากาศ (Ventilator) สําหรับวียูมิเตอร (VU meter) ท่ีมีเวลาอินทิเกรชัน (Integration time) 240 มิลลิวินาที เราจะปรับแรงดันขาออกดวยสัญญาณคล่ืนไซน (Sine wave) ใหมีคา 40 โวลต โดยใหวยี ูมิเตอรอานคา 0 (8 dB ที่ต่ํากวา 100 โวลต)

  

94

ในทางปฏิบัติ เราควรปรับระดับสัญญาณเสียงพูด และ/หรือ เสียงเพลง ใหวยี ูมิเตอรอานคาได 0 ถึง 3 dB เปนคาสูงสุด เพ่ือใหเ รามั่นใจวาเมื่อสัญญาณมีคายอดสูงสุดในชว งส้ันๆ ท่ีแรงดันไฟฟาเกิน 100 โวลต และไมทําใหเกดิ ความเพยี้ นท่ีผฟู งไมสามารถรับได

13.2.4 ลําโพง(Loudspeaker)
โดยปกตแิ ลวในงานระบบเสยี งสาธารณะ เราตอพวงลําโพงโดยระบบ 100 โวลตไลน โดยตอพว ง ลําโพงเขากับเคร่ืองขยายเสียงกับขั้วตอท่ีมกี ําลังต่ํากวาเชนP/2,P/4วตั ตที่ขั้วตอลําโพงและ
70, 50 โวลต ที่ขั้วตอเครื่องขยายเสียง โดยท่ัวไปแลว คา กําลังท่ีลําโพงสามารถรับได (Power handling capacity) ตามมาตรฐาน IEC 268-5 จะมีคามากกวาคากําลังท่ีระบุ (Rated power) ของ ลําโพงเราควรหลีกเล่ียงการเกิดความเสยีหายของลําโพงจากระดับสญัญาณที่สูงเกนิไปเชน การปอนกลับของเสียง (Acoustic feeddback) โดยใหกําลังที่ระบุของเครื่องขยายเสียงมีคา สอดคลองกับอิมพีแดนซของโหลดท่ีระบุ (Rated load impedance) ของเครือขายลําโพงท่ีตอพวงใน ระบบ100โวลตไลนดังน้ันผลรวมของกําลังท่ีระบุของลําโพงท่ีตอพวงกันทั้งหมดไมค วรจะเกิน กําลังที่ระบุของเคร่ืองขยายเสียง

13.2.5 เครื่องควบคุมความดังอัตโนมัติ(Automaticvolumecontrol) เคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) หรือ AVC เปนเครื่องมือท่ีใช ควบคุมคาระดบั ความดังของการประกาศในระบบเสียงสาธารณะ(Publicaddress)ใหส ัมพันธกับ ระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบ (Ambient noise) ทําใหเกิดความม่ันใจวาผูฟงจะได ยินเสียงท่ีมีความชัดเจนในการไดยินเสียงสูงโดยไมไดม ีการรบกวนจากเสียงรบกวนโดยรอบ

เคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) มีวิธีทํางานโดยอาศัย ไมโครโฟนท่ีตออยูกับชองขาเขาตรวจจับ (Sensor input) วัดระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอม โดยรอบ (Ambient noise) แลวขยาย (Amplify) เรยี งกระแส (Rectify) และนําไปใชเปนคาระดับ สัญญาณเปรียบเทียบกับคาระดับสัญญาณท่ีไดต้ังคาไว

เครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) จะตง้ั อัตราขยายของระบบ ในขณะที่ระดบั เสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบมีคาสูงตอเมื่อระดับเสียงรบกวนจาก สภาพแวดลอมโดยรอบมีคาลดลงเครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมตั ิ(Automaticvolume control)จะลดทอนอัตราขยายของระบบใหเหมาะสมกับระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอม

 

95

โดยปกตแิ ลวเคร่ืองควบคุมระดับความดังอตั โนมัติ (Automatic volume control) จะสามารถควบคุม การลดทอน(Attenuation)อยูท่ีคาระหวาง6ถึง21dBข้ึนอยูกับระดบั ความดังสูงสุดของ ระบบเสียงที่สามารถรับไดตัวอยางเชน ถาเรากําหนดระดบั ความดังสูงสุดของเสียงประกาศที่ผูฟง สามารถฟงไดอยางสบาย ที่ 80 dB (SPL) เราเลือกลําโพงท่ีผานการคํานวณมาแลวใหระดับ ความดังที่ 89 dB (SPL) ดังน้ัน คาที่เหมาะสมสําหรับเครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) คือ 9 dB

เคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) ท่ีสามารถควบคุมระดับ สัญญาณได 21 dB เปนอุปกรณท่ีใชในงานระบบเสียงสาธารณะเราสามารถควบคุมการลดทอน ระดับความดนั เสียงสูงสุดได101dB(SPL)หรือคิดเปน ระดับสัญญาณ21dBสูงกวาระดับเสียงที่ ผูฟงสามารถฟงไดอยางสบาย คือท่ี 80 dB (SPL)

เครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automatic volume control) เปนอุปกรณที่ไดรบั การตั้งคาไวกอ นจากโรงงาน(Factorypre-set)ดังนั้นเราจึงควรปรับอัตราขยายของไมโครโฟนที่ตอ กับชองขาเขาตรวจจับ (Sensor input) ใหสัมพันธกับโซนลําโพง (Loudspeaker zone) ที่เราตองการ ควบคุม และเวลาที่ต้ังใหม (Reset time)

ถาเราใชไมโครโฟนในโซนลําโพงที่มีการควบคุมของเครื่องควบคุมระดับความดังอัตโนมัติ (Automaticvolumecontrol)เราจะตองปรบั อัตราขยายใหเหมาะสมกบั การปอนกลบั ของเสียง (Acoustic feedback) ในขณะท่ีระดับเสยี งรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบมีคาลดลง เคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมัติจะลดทอนอัตราขยายของระบบ แตเม่ือระดับเสียงรบกวนจาก สภาพแวดลอมโดยรอบมีคาสูงขึ้นเคร่ืองควบคุมระดับความดังอัตโนมตั ิจะเพิ่มอัตราขยายของ ระบบและมีโอกาสเกิดการปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)เราจะตองปรับอตั ราขยาย ใหเหมาะสมโดยไมควรใหเกิดการปอนกลับของเสียง(Acousticfeedback)และปรบั อัตราขยาย ใหเหมาะสมกบั ระดับสัญญาณที่ต่ําจากไมโครโฟนเน่ืองจากการพดู เบาไปหรือการพดู หางจาก ไมโครโฟนมากเกินไป

96

วิธีติดตั้งอุปกรณฮารดแวร (Hardware installation)

14.1 ระบบความปลอดภัยและระบบสายดนิ หรือกราวด(Safetyandsystem’searth)

18.3.1 ระบบสายดิน(EarthingorGrounding)
ในการติดต้ังระบบเสียง เราตองมีระบบสายดินหรือกราวด (Ground) ที่ดี เพ่ือที่ระบบเสียงสามารถ ทํางานไดโดยมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย

เครื่องหมายน้ีเปนสัญลักษณข องกราวดท่ีตอ กับแรงดันไฟฟาเมน(Mainsvoltage)เพ่ือ การปองกัน(Protective)และความปลอดภยั (Safety)ในกรณีท่ีเกดิ การลัดวงจร กราวดจ ะชว ยเหลือในการนําแรงดันไฟฟาลงดินกอน

เครื่องหมายนี้เปนสัญลักษณข องกราวดของอุปกรณระบบเสียงสวนใหญจะเปน แบบ โปรเฟสชันแนล เราตออุปกรณลงกราวดข องระบบ (System earth) โดยตอเขากับ ระบบสกรีน (Screen) หรือระบบชีลด (Shield) โดยเก็บรวบรวมสัญญาณรบกวน ทั้งหมดลงกราวดอุปกรณระบบเสียงจะตองมีกราวดทดี่ ี

เคร่ืองหมายน้ีเปนสัญลักษณของกราวดท่ีมกีารเดินสายแยกตางหาก เน่ืองจากกราวดที่ตอกับแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) มักเปนกราวดท่ีมี สัญญาณรบกวนอยูมาก การติดต้ังระบบควรมีกราวดทเ่ี ดินแยกตางหาก แลวตอเขากับ

เครื่องขยายเสียงหรอื ตูแร็ก(Rack)

     

14.0 ระบบสายดินหรือกราวดและระบบสกรีน (Grounding and screening)

      

97

18.3.2 กราวดลูป(Groundloop)
ในขณะท่ีเราตดิ ต้ังระบบกระจายสัญญาณระบบเสียงสาธารณะ(Publicaddressdistributionsystem) การตออุปกรณตางๆลงกราวดที่ไมด ีและไมถูกตองทําใหปญหากราวดลูป(Groundloop)และ ปญหาตางๆ เชนเสียงฮัม (Hum) ความเพ้ียน (Distortion) หรือความไรเสถียรภาพ (Instability) เกิดขึ้นตามมา รวมถึงภาวะโหลดเกินที่อาจจะสรางความเสียหายแกอุปกรณเหลานั้น

เราควรจะออกแบบวิธีการติดตั้งอุปกรณตางๆเปนอยางดีกอนท่ีปญหากราวดลูปจะเกดิ ขึ้นเพราะ เราจะมีความยงุ ยากและเสียเวลาในการตรวจสอบหาจดุ ท่ีสรา งปญหา

ในระบบท่ีมีอปุ กรณหลายๆตัวตอเขากับแรงดันไฟฟาเมน(Mainsvoltage)กราวดลปู ก็สามารถ เกิดข้ึนไดจากการเดินสายเมน (Main) ตัวอยางของอุปกรณที่มักจะเกิดปญหา ไดแก เคร่ืองเลนเทปคาสเซ็ตเคร่ืองเลนซีดีที่ติดตั้งอยูในในตแู ร็ก(Rack)ขนาดมาตรฐาน19น้ิว

รูปที่63การตอระบบสายดนิ หรือกราวดท ้ัง3แบบ

รูปท่ี 63 แสดงวิธีการตอระบบสายดินหรือกราวด 3 แบบที่แตกตาง ดังน้ี
การตอเขากับโครงของตูแร็ก (Rack)
การตอเขากราวดที่ตอกับแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) การตอเขากราวดของระบบ(Systemearth)โดยตอเขากบั ระบบสกรีน(Screen)หรือ

ระบบชีลด (Shield)

 

98

เรามีวิธีแกไขกราวดลูป โดยใหระบบตอลงกราวดเพยี งเสนทางเดียว ดังน้ี

1.    อุปกรณระบบเสียง เชนเครื่องเลนเทปคาสเซ็ต เคร่ืองรับวิทยุ เคร่ืองเลนซีดี สวนใหญ 
แลว อุปกรณจะไมมีข้ัวตอลงกราวดของแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) เราควรจะ ตอสวนที่เปนโลหะเชนกลอ งเขากับตูแรก็ (Rack)และควรจะตอกราวดของอุปกรณ ใหดีท่ีสุด เพื่อปองกันปญหาการตอเชื่อมท่ไี มดีเขากับตแู ร็ก (Rack) 


2.    เราควรตอกราวดของแรงดนั ไฟฟาเมน (Mains voltage) เขากับตูแร็ก (Rack) และตอ กราวดของอุปกรณระบบเสยี งท่ีจุดเดยี วกัน 


3.    สําหรับอุปกรณเคร่ืองขยายเสียงและอุปกรณอื่นๆ ท่ีมีกราวด 2 แบบ คือ กราวดไฟฟา เราจะตอกับ0โวลตของวงจรและกราวดของระบบเราจะตอเขากับตแู ร็ก(Rack) 


4.    เราควรตอกราวดของอุปกรณระบบเสียง เชนเครื่องเลนเทปคาสเซ็ต เครื่องรับวิทยุ 
เคร่ืองเลนซีดีที่กราวดของเคร่ืองขยายเสียงแตถายังมีปญ หากราวดลปู อยูเราก็ควรใช 
เคเบิลทรานสฟอรเมอร (Cable transformer) แบบ 1:1 แยกโดด (Isolate) กราวด 


5.    เม่ือมีเครื่องขยายเสียงหลายเครื่องวางซอนกันหรือติดตั้งรวมกันในตูแร็ก (Rack) 
เราควรตอกราวดไฟฟาของอปุกรณตางๆทงั้หมดลงกราวดเพยีงจดุเดยีวเทานนั้ เราไมควรตอพวงกราวดซึ่งกันและกัน และ 
ถามีกราวดตา งหากสําหรับสัญญาณ ก็ใหต อลงกราวดทจี่ ุดนี้
แตถามีกราวดข องแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) เพียงอยางเดยี ว ก็ควรตอ 
กราวดไฟฟาลงที่จุดน้ีแลวตอ เขากับตูแร็ก(Rack) 


รูปที่ 64 วิธีการตอระบบสายดินหรือกราวดของแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage)

 

99

18.3.3 กราวดลูปของไมโครโฟน(Microphonegroundloop) การเดินสายไมโครโฟนเปนระยะทางไกลๆมักจะเกดิ ปญหาของกราวดลูปเรามีวธิ ีปองกัน กราวดลูปของไมโครโฟนไดดังนี้

1.    ถาเราจําเปนตอ งใชสายไมโครโฟนชนิดแกนเดยี วพรอมสายหุมหรือสายชีลด (Single screened)ก็ควรจะใชในระยะสั้นๆเนื่องจากเราใชสายหุมหรือสายชลี ดเปน สายสัญญาณปอนกลับ(Return)ของวงจรไมโครโฟนและลงกราวดท่ีชอ งขาเขาของ วงจรขยายภาคตน (Preamplifier) ทําใหเราขยายสัญญาณรบกวนหรือเสียงฮัมท่ีมีการ เหนยี่วนํา(Induced)รวมกับสัญญาณท่ีเราตองการในสายพรอมๆกนั ตามรูปที่65ที่ แสดงการตอไมโครโฟนชนิดแกนเดยี ว 
รูปที่ 65 การตอไมโครโฟนชนิดแกนเดยี ว 


2.    โดยปกตแิ ลว เราควรใชสายไมโครโฟนชนิดสองแกนพรอมสายหุมหรือสายชีลด (Twin core screened) สายหมุ หรือสายชีลดที่ไมไดใ ชเปน สัญญาณปอนกลับ (Return) ของวงจรไมโครโฟนจะตอลงกราวดที่ชองขาเขาของวงจรขยายภาคตน (Preamplifier) การตอสายไมโครโฟนแบบน้ีมักจะไมสรางปญหาเร่ืองสัญญาณรบกวนหรือเสียงฮัมที่ ถูกเหนยี่ วนํา (Induced) เขามาในสาย แตในบางภาวะ ถาสนามแมเหล็กไฟฟามีสัญญาณ แรงมาก เชนสถานที่ที่ใกลกบั สถานีสงวิทยุกระจายเสยี ง สัญญาณรบกวนหรือเสยี งฮมั (Hum) ก็มีโอกาสที่จะถูกเหนี่ยวนํา (Induced) เขามาในสายหุมหรือสายชีลด และใน บางกรณี สัญญาณรบกวนหรือเสียงฮัมก็อาจจะมีโอกาสที่จะมีการเหนยี่ วนํา (Induced) เขามาถึงสายแกนได ตามรูปท่ี 66 ท่ีแสดงการตอไมโครโฟนชนิดสองแกน 
รูปที่ 66 การตอไมโครโฟนชนิดสองแกน 100 


   

3.    การปองกันสญั ญาณรบกวนหรือเสียงฮัมที่มีการเหนยี่ วนํา (Induced) เขามาในสายหมุ หรือสายชีลด เราควรใชสายไมโครโฟนชนิดสองแกนพรอมสายหุมหรือสายชีลด (Twin core screened) สายหมุ หรือสายชีลดท่ีไมไดใ ชเปน สัญญาณปอนกลับ (Return) ของวงจรไมโครโฟนตอลงกราวดท่ีชองขาเขาของวงจรขยายภาคตน (Preamplifier) โดยตอเปนแบบบาลานซ (Balance) เราจะมีเคเบิลทรานสฟอรเมอร (Cable transformer) แบบ 1:1 แยกโดด (Isolate) กราวด เคเบิลทรานสฟอรเมอร (Cable transformer)ดังกลาวจะใหค าการขจัดแบบวิธีรวม(Commonmoderejection)มากกวา 30 dB เราจงึ สามารถขจัดสัญญาณรบกวนหรือฮัมออกไปไดคอนขางแนนอน ตาม รูปท่ี 67 ที่แสดงการตอไมโครโฟนชนิดสองแกนและเคเบิลทรานสฟอรเมอร (Cable transformer)และเราไมควรตอสายหุมหรอื สายชีลดที่ตัวกลองโลหะของเตาเสียบ (Plug) ของไมโครโฟน 
รูปที่ 67 การตอไมโครโฟนชนิดสองแกนและเคเบิลทรานสฟอรเมอร 


4.    ตัวอยางการตอลงกราวดเมอื่ เราตอพวงอปุ กรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ เขาดวยกัน เราจะตอลงกราวดของระบบทางดานรับสัญญาณของอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้เพื่อปองกนั การเกดิ กราวดลูป(เสียงฮัม)ตามรูปท่ี68ที่แสดงการตอลงกราวด เมื่อตอพวงอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ เขาดวยกัน 
รูปท่ี68การตอลงกราวดเมอื่ ตอพวงอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆเขาดวยกัน 


3.                            

101

14.2 การแทรกสอดของสัญญาณจากคล่ืนวิทยุหรือแรงดันไฟฟาเมน (Radio and main born interference)

เคร่ืองขยายเสยี ง (Amplifier) ของผูผลิตบางราย เชนฟลิปส/บอช (Philips/Bosch) และระบบ กระจายสัญญาณ(Distributionsystem)จะมีระบบการปอ งกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกท่ีดี ในภาวะปกติ ปญหาสัญญาณรบกวนมักจะไมเปนอุปสรรคแตอยางใดตอการใชงาน แตปญหา สัญญาณรบกวนก็อาจจะเกดิ ข้ึนไดจ ากแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) และการใชอุปกรณตางๆ ในสถานที่ท่ีสนามแมเหล็กไฟฟามีสัญญาณแรงมาก เชน สถานท่ีท่ีใกลกับสถานีสงวิทยกุ ระจายเสยี ง เราควรจะตองแกปญหาสัญญาณรบกวนเปนกรณีๆ ไป

สาเหตุที่ทําใหเ กิดปญหาของการแทรกสอดของสัญญาณ (Interference) มีดังตอไปน้ี

1.    มีความแรงของสนามไฟฟา (Electrical field strength) มากกวา 1 V/m โดยเกดิ จาก 
การติดต้ังของระบบเสียงในสถานที่ตางๆ ดังน้ี

                                     ภายในรัศมี 20 กิโลเมตรของสถานีสงเอเอ็ม (Medium wave radio 
transmitter) ขนาดกําลังสง 1 MW 


                                     ภายในรัศมี 5 กิโลเมตรของสถานีสงเอฟเอ็มหรือโทรทัศน (FM or Television 
transmitter) ขนาดกําลังสง 100 kW 


                                     ภายในรัศมี 100 เมตรของสถานีสงซีบี (CB or Citizen band) ขนาดกําลังสง 
0.5 W โดยขึ้นกับทิศทางของสายอากาศ เชนสถานีสงซีบี (CB) ขนาด 
ความถี่ 27 MHz 


                                     ใกลกับสถานท่ีท่ีติดตั้งเครื่องมือแพทย เชน ภายในรัศมี 100 เมตรของ 
เครื่องบําบัดรักษาโดยใชคล่ืนวิทยุ (Radio-therapy unit) ขนาดกําลัง 1 kW ความถี่ 27 MHz 
ความถี่ที่เกิน 200 MHz เชน เรดาร (Radar) หรือ สถานีถายทอดสัญญาณ (Relay connection)ที่ใชความถ่ีมากกวา1GHzมักจะไมสรางปญหาเกี่ยวกับสญั ญาณรบกวน นอกจากนี้ยังมอี งคประกอบอ่ืนๆ ที่ชว ยลดการรบกวนของสัญญาณจากคลื่นวิทยุ เชน ตัวตึกทใี่ ชสิ่งปลูกสรางจําพวกคอนกรีตเสริมเหล็ก เปนตน 


2.    มีแรงดันไฟฟา ท่ีมีสัญญาณยอดแหลม (Spike) บนแรงดนั ไฟฟาเมน (Mains voltage) ขนาดเกนิ กวา800Vที่สามารถเกิดไดจากการเปดปดสวติ ชของโหลดประเภท ตัวเหน่ียวนํา (Inductor) หรือตัวเก็บประจุ (Capacitor) ที่มีคาสูงๆ วิธีแกปญหาของ แรงดันท่ีมีสัญญาณยอดแหลม (Spike) บนแรงดันไฟฟาเมน (Mains voltage) คือการ ใชตัวกรอง (Filters) กรองสัญญาณยอดแหลม (Spike) ทิ้งไป 


102

14.2.1 การปองกันสญั ญาณแทรกสอด(Preventionofinterference) วิธีปองกันสัญญาณแทรกสอดจากคล่ืนวิทยมุ ีอยู2วิธีดังน้ี

1.    การสกรีนหรอื หอหุม (Screening) แหลงกาํ เนิดสัญญาณวิทยุ จะเปน วิธที ่ีไดผล มากท่ีสุด แตทาํ ไดคอนขางยาก เราสามารถปองกันสัญญาณแทรกสอดจากคล่ืนวิทยุ ดวยวิธีนี้เฉพาะอุปกรณที่สรา งปญหาเก่ียวกับสัญญาณรบกวนท่ีอยูในสถานที่เดียวกนั กับระบบเสียงที่เราตองการติดตั้งเชนอุปกรณเครื่องมอื แพทยเราสามารถจํากัด การแพรของคล่ืนวิทยใุ หอยูในที่ท่ีกําหนดไว เชนในกรงของฟาราเดย (Faraday cage) 


2.    การสกรีนหรอื หอหุม (Screening) อุปกรณระบบเสียงที่เก่ียวของ เปน วิธีที่เราใชกนั ท่ัวไป เราจะตดิ ต้ังอุปกรณตา งๆ เชนเคร่ืองขยายเสียง อปุ กรณระบบเสียงอื่นๆ เชน เคร่ืองเลนเทปคาสเซ็ต เคร่ืองรับวิทยุ เครื่องเลนซีดี ระบบกระจายเสียง (Distribution system)ในตูแร็ก(Rack)แลวสกรีนหรือหอ หุม(Screening)วงจรอิเล็กทรอนิกส ดังกลาว 
ตูแร็ก(Rack)ที่ใชจะตองมีฝาบนฝาลางฝาขางและบานประตูท่ีเปนโลหะตแู ร็ก (Rack) อาจจะมีชองวางเปนรูหรือเกล็ดแบบหนาตาง (Louver) สําหรับระบายอากาศ ไดแตไมควรมีชองวางขนาดที่ใหญเกินไปเพ่ือใหตแู รก็ (Rack)มีประสิทธิภาพในการ สกรีนหรือหอหุม (Screening) จากสัญญาณรบกวน 
เราจะลงกราวดอุปกรณตางๆเชนฝาแกนโลหะสําหรบั ติดต้ังโดยการตอเช่ือม สายไฟฟาสั้นๆ ระหวางอุปกรณเหลาน้ัน เราอาจจะตองตอเช่ือมหลายๆ จุดสําหรับ พื้นผิวขนาดใหญ เชนตอเชอ่ื มจํานวน 6 จุด เพ่ือเชื่อมตอฝาขางและฝาหลัง เปนตน ในกรณีที่มีปญ หาการแทรกสอดสัญญาณจากคล่ืนวิทยุคอนขางมากเราอาจจะตองขูด สีท่ีพนออกแลว ใชตะปูควงขนั พรอมสายไฟฟาทุกๆ 5 ถึง 10 ซม. เพื่อใหตูแร็ก (Rack) ปลอดจากสัญญาณรบกวนทเี่กิดจากการแทรกสอดสัญญาณจากคลื่นวทิ ยุตามรูปที่69 ท่ีแสดงการสกรีนหรือหอหมุ (Screening)ตูแร็ก(Rack)ขนาดมาตรฐาน19นิ้ว 


103

   

รูปท่ี69การสกรีนหรือหอหมุ (Screening)ตูแร็ก(Rack)ขนาดมาตรฐาน19นิ้ว 14.2.2 สัญญาณแทรกสอดท่ีเกิดจากสาย(Interferenceintroducedviacables)

รูปที่ 70 วิธีการเดินสายแบบตางๆ เพ่ือปองกันสัญญาณแทรกสอดที่เกิดจากสาย (Interference introduced via cables)

สายเคเบิลทุกชนิดไมว าจะเปนสายสัญญาณ สายลําโพง สายเมนไฟฟามีโอกาสเปนสายอากาศ (Antenna)ไดทําใหสายเคเบลิ สามารถแพรสัญญาณรบกวนที่เปน คล่ืนวิทยุวิธีเบ้ืองตน ในการหา สายเคเบิลท่ีมีปญหาสัญญาณรบกวนสามารถทําไดโดยการถอดสายเคเบิล แลวเช่ือมสายเคเบิล แตละเสนจนกระท่ังพบสายเคเบิลที่เปนสาเหตุของปญหาดังกลาวจากนน้ั เราจะแกปญหาโดยการ พันสายเคเบิลใหเปนวงตามรูปท่ี 70

 

104

14.2.3 สัญญาณแทรกสอดที่เกิดภายในตแูร็ก(Rack)(Interferenceintroducedinsiderackunit)

ในบางกรณีที่เราเดินสายสัญญาณภายในตแู ร็ก(Rack)ก็อาจมีโอกาสเกิดเสียงฮัมขึ้นไดเน่ืองจาก การเดินสายสญัญาณท่ีใกลกบัสายเมนไฟฟาและหมอแปลงไฟฟาเราจงึควรเดินสายสัญญาณใหหาง จากสายเมนไฟฟาและหมอแปลงไฟฟาดังกลาว เพ่ือปองกันการเกิดสัญญาณรบกวน

14.2.4 สัญญาณแทรกสอดท่ีเกิดการเหน่ียวนําจากสายลําโพงแบบ100โวลตไลน (Interference induced from 100 V loudspeaker wiring)

การเดินสายสญั ญาณท้ังภายในตูแร็ก (Rack) และทอรอยสาย เราควรจะตองเดินสายสญั ญาณใหห าง จากสายลําโพงแบบ 100 โวลตไลน เพราะอาจจะทําใหเกดิ การเหนี่ยวนาํ ของสัญญาณและอาจจะทํา ใหระบบเกิดการออสซิลเลตได

14.3 ตูแร็ก(Rack)ขนาดมาตรฐาน19น้ิว(Standard19inchesrackunit)

การออกแบบอุปกรณสําหรบั ระบบเสียงสาธารณะ(Publicaddress)เชน เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ของผูผลิตบางราย เชน ฟลิปส/ บอช (Philips/Bosch) ระบบกระจายสัญญาณ (Distributionsystem)แผงมอนิเตอรระบบเสียงและอุปกรณป ระกอบระบบเสียงอ่ืนๆทําใหเรา สามารถติดตั้งอุปกรณตางๆ ในตูแร็ก (Rack) ขนาดมาตรฐาน 19 นิ้วได สวนอุปกรณระบบเสียง อ่ืนๆ เชนเคร่ืองเลนเทปคาสเซ็ต เคร่ืองรับวิทยุ เคร่ืองเลนซีดี เราก็สามารถติดตั้งในตูแร็ก (Rack) ได โดยอาศัยอุปกรณประกอบ

เราสามารถคํานวณขนาดของตูแร็ก (Rack) ขนาดมาตรฐาน 19 นิ้วท่ีตองการ โดยใชมาตรฐาน ความสูง “HE” ที่มีขนาดเทากับ 44.55 มม. (1.75 นิ้ว) ตัวอยางเชน เคร่ืองขยายเสียง (Amplifier) ทั่วไปจะมีความสูง 3 HE หรือ 133.65 มม. การใชมาตรฐานความสูง HE จะชวยในการคํานวณ จํานวนของเคร่ืองขยายเสียง(Amplifier)ระบบกระจายสญั ญาณ(Distributionsystem) แผงมอนิเตอรระบบเสียงอปุกรณประกอบระบบเสียงและอุปกรณระบบเสียงอื่นๆเชนเคร่ืองเลน เทปคาสเซ็ต เคร่ืองรับวิทยุ เครื่องเลนซีดี เขากับขนาดของตูแร็ก (Rack) ที่กําหนดได

  

105

เรามีหลักในการวางแผนที่จะประกอบอุปกรณตางๆ เขาในตูแร็ก (Rack) ดังน้ี

1.    เราควรจะตดิตงั้อุปกรณระบบเสียงเชนเครอื่งเลนเทปคาสเซ็ตเคร่ืองรับวิทยุ 
เครื่องเลนซีดีท่ีมีแผงควบคมุ อยูดานหนาใหอยูในระดับความสูงท่ีเหมาะสมทําให 
สะดวกแกก ารใชงานของผูควบคุม 


2.    ถาเราติดตั้งเคร่ืองขยายเสียงภาคกําลัง (Power amplifier) อยูดานลางของตูแร็ก (Rack) 
และมีอุปกรณค วบคุมท่ีใชไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) ติดตั้งอยูดานบนแลว เราควรติดตั้งแผงกันความรอน เพ่ือไมใหลมรอนจากการระบายอากาศสงผานความ รอนไปยังอุปกรณควบคุมทใี่ ชไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) ทําใหอุปกรณ ควบคุมเกิดความไมเสถียรภาพในการทํางาน 


3.    ถาเราติดตั้งเครื่องขยายเสียงภาคกําลัง (Power amplifier) จํานวนหลายๆ เคร่ือง เราควร จะติดต้ังพัดลมระบายความรอนที่ดานลางของตูแร็ก (Rack) ใหเหมาะสมเพียงพอกบั ความรอนที่เกดิ ข้ึน 
รูปท่ี 71 ตูแร็ก (Rack) ขนาดมาตรฐาน 19 น้ิว (Standard 19 inches rack unit) 106 


   

การคํานวณทางอะคูสตกิ (Acousticalcalculation)

คุณลักษณะและวิธีการแพรกระจายของเสียงจะขึ้นกับสภาพแวดลอม เสียงท่ีเกิดจากแหลงกําเนิด แหลงเดยี วกันจะใหผลลัพธแตกตางกนั ในสภาพแวดลอมที่ตางกัน

เม่ือเราใชอุปกรณระบบเสียงแบบเดยี วกันในสถานท่ีแตกตางกัน เชนสนามกีฬา โบสถขนาดใหญที่ มีเสียงกองสะทอนมากหรือหองออดิทอเรยีมขนาดใหญท่ีมีการใชวัสดใุนการดดูซึมเสียงเราจะ พบวาเม่ือเปรยี บเทียบเสียงทไ่ี ดยินในแตละสถานที่จะแตกตางกันมาก

การออกแบบระบบเสยี งที่จะกลาวตอไปนี้ จะแบงออกได 2 แบบ คือ แบบภาวะภายนอกอาคาร (Outdoor) และแบบภาวะภายในอาคาร (Indoor)

องคประกอบสําคัญ 2 ส่ิงในการออกแบบระบบเสียงท้ัง 2 แบบที่เราควรคํานึงถึง คือ

1.    ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด (Speech intelligibility) เพ่ือการสงขอความ 
ที่ถูกตองไปยังผูฟงไดอยางชดั เจน 


2.    คุณภาพของการขยายเสียงหรือการถายทอดเสียง (Quality of reproduction) เพื่อการสง 
เสียงตางๆ เชนเสียงเพลง ไปยังผูฟงไดโดยไมผิดเพย้ี น 


     

15.0 การคํานวณทางอะคูสติก (Acoustical calculation)

  

107

    

16.0การคํานวณระบบเสียงสําหรบั สภาพแวดลอ มภายนอกอาคาร(Outdoorenvironment)

  

ในภาวะภายนอกอาคาร องคประกอบท่ีมีผลตอการถายทอดเสียง (Sound reproduction) และการฟง (Reception) มีดังตอไปน้ี

ความไว (Sensitivity)
กําลัง (Power)
สภาพทิศทาง (Directivity) ระยะทาง (Distance)

การสะทอน (Reflection)
การดูดซึม (Absorption)
การหักเห (Refraction)
การดูดซึมของอากาศ (Air absorption) ความช้ืน (Humidity)

อุณหภูมิ (Temperature) ความกอง (Echo)

16.1.1 กําลัง(Power)

16.1 คุณสมบัติทางเทคนิค

กําลัง (Power)

ระดับความดัง dB (SPL)

1W

100

2W

103

4W

106

8W

109

16W

112

32W

115

รูปที่ 72 ตารางเปรียบเทียบกําลังกับระดับความดัง dB

การเพ่ิมกําลังแกลําโพงเปน 2 เทาแตละครงั้ ระดับความดันเสียงของลาํ โพงจะเพ่ิมขน้ึ 3 dB ท่ีระยะ 1 เมตร ตามรูปที่ 72 เรากําหนดใหลําโพงมีความไว (Sensitivity) 100 dB (SPL) ที่ 1 วัตต 1 เมตร

108

เราคํานวณระดับความดนั เสียงที่กําลังตางๆไดจากสูตร dB (SPL) = SPL1.1 + 10 log P/P0

โดยท่ี SPL1.1 = ความไว (Sensitivity) ของลําโพงเปน dB (SPL) ท่ี 1 วัตต 1 เมตร P = กําลัง (วัตต)

P0 =กําลังที่อางอิงในทนี่ ้ีคือ1วัตต

ตัวอยาง ลําโพงมีความไว (Sensitivity) 100 dB (SPL) ท่ี 1 วัตต 1 เมตร เม่ือเราเพ่ิมกําลงั เปน 12 วัตต ระดับความดนั เสียงที่กําลัง12วัตตคือ

=100+10log12 =100+10.8
= 110.8 dB (SPL)

รูปท่ี 73 กราฟของการเปรียบเทียบอัตราสวนกําลังกับ dB

รูปท่ี73แสดงการเปรียบเทยีบระหวางอัตราสวนกําลังเทยีบกับdBเราพบวากําลังคา12วัตตคือ 10.8 dB

16.1.2 สภาพทิศทาง(Directivity) กอนท่ีเราจะคํานวณการครอบคลุมพื้นที่ของการแพรกระจายเสียงของลาํ โพง เราควรจะทราบถึง คุณลักษณะทางเทคนิคของลําโพงแตละชนดิ คุณลักษณะทางเทคนิคหลักคุณลักษณะหน่ึงก็คือ มุมเปด(Openingangle)ของลําโพงท่ีแสดงการแพรก ระจาย(Dispersion)ของเสียงตามความถี่ โดยมีการวัดในลักษณะของมุมที่แพรกระจายออกมาจากทางดานหนาของลําโพง การเลือกใช ลําโพงแตละชนิดขึ้นอยกู ับลักษณะการใชงานและสภาพแวดลอมท่ีเก่ียวของเชนถาเราใช ระบบเสียงในสถานท่ีที่กวางก็อาจจะตองเลือกลําโพงที่มีมุมเปด กวางเพ่ือความสามารถในการ ครอบคลุมพื้นท่ี

 

109

แตบางครั้งเราอาจจะตองพจิ ารณาถึงแนวการติดต้ังลําโพงดวย โดยเราติดต้ังลําโพงใหลําของเสียง (Beam of sound) เล็งมุมในทิศทางท่ีเฉพาะเจาะจง เนื่องจากการแพรกระจายของเสียงจากลําโพงใน มุมกวางอาจจะเปลืองพลังงานของเคร่ืองขยายเสียงหรอื เกิดการสะทอ นจากส่ิงปลูกสรางท่ีอยู ใกลเคียงทําใหร บกวนบุคคลอ่ืนได

นอกจากนี้การใชไมโครโฟนก็ทําใหเกดิ โอกาสรับเสียงปอนกลับจากลําโพงไดหากการจัดเล็งมุม ของการแพรกระจายของเสียงจากลําโพงเขา ไปในมุมรับเสียงของไมโครโฟน ลักษณะเชนน้ี เสียงจากลาํ โพงท่ีปอนกลับไปยังไมโครโฟนจะเปน ตนเหตุของการเกิดการปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) หรือเสียงหอน (Howl) ได เราจึงควรติดตั้งลําโพงใหมีชองวางของการ แพรกระจายของเสียง เพ่ือเปน จุดทว่ี างไมโครโฟน และหากเปนไปได ก็ไมควรวางไมโครโฟนอยู หนาลําโพง ตามรูปที่ 74

ลําโพงบางชนิดเชนลําโพงซาวนคอลัมนจะใหทิศทาง(Direction)ที่ดีเน่ืองจากมกี ารจัดกลุม ลําโพงในแนวต้ัง ที่ชวยใหผใู ชงานสามารถติดตั้งลําโพงและจัดมุมลําโพงไดงาย

การติดตั้งลําโพงเปนจํานวนหลายตัวในแนวยาวของสถานท่ี และลําโพงมีระดับความดันเสียงท่ีตํ่า หรือคอย เราควรพยายามติดต้ังลําโพงแตละตัวใหมีระยะหางกันตํ่ากวา 15 เมตร เพื่อลดปญหาของ เสียงกอง (Echo) แตถายังมีปญ หาเน่ืองจากการเดินทางของเสียง การใชเคร่ืองไทมดีเลย (Time delay) ดังที่กลา วไวใ นหัวขอ 10.0 ก็จะชว ยแกปญหานี้ได

รูปที่ 74 ตัวอยา งการติดตั้งไมโครโฟนและลําโพง โดยไมเกิดการปอนกลับของเสียง (Acoustic feedback) หรือเสียงหอน (Howl)

 

110

16.1.3 การลดทอนระดับความดังเนอื่ งจากระยะทาง(Attenuationduetodistance) เมื่อเราถายทอดเสียง (Sound reproduction) ในสภาพแวดลอมภายนอกอาคาร (Outdoor environment) ท่ีไมมีการสะทอนของเสียงจากสิ่งของตางๆ ผูฟงจะฟงเสียงจากสนามเสียง ทิศทางตรง (Direct sound field) เม่ือระยะทางเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา ระดับความดันเสยี งของลําโพงจะ ลดลง 6 dB ตามรูปที่ 75 เรากําหนดระดับความดันเสยี งของลําโพงมีความไว 100 dB (SPL) ท่ี 1วัตต1เมตรและเราใหกําลงั 1วัตตแกลําโพง

ระยะทาง (Distance)

ระดับความดัง dB (SPL)

1 เมตร

100

2 เมตร

94

4 เมตร

88

8 เมตร

82

16 เมตร

76

32 เมตร

70

รูปท่ี 75 ตารางเปรียบเทียบระยะทางกับ dB

เราคํานวณระดับความดนั เสียงที่ระยะทางตางๆไดจากสตู ร dB (SPL) = SPL1.1 - 20 log r/r0

โดยที่ SPL1.1 = ความไว (Sensitivity) ของลําโพงเปน dB (SPL) ที่ 1 วตั ต 1 เมตร r = ระยะทาง (เมตร)

r0 = ระยะทางท่ีอางอิง ในที่นี้คือ 1 เมตร

ตัวอยาง ลําโพงมีความไว (Sensitivity) 100 dB (SPL) ที่ 1 วัตต 1 เมตร เมื่อเราเพ่ิมระยะทางเปน 25 เมตร ระดบั ความดันเสยี งที่ระยะทาง 25 เมตร คือ

=100-20log25 =100-28
= 72 dB (SPL)

111

รูปที่ 76 กราฟของการเปรียบเทียบระยะทางกับ dB

รูปท่ี76แสดงการเปรียบเทยีบระหวางระยะทางที่มีหนวยเปนเมตรเทยีบกับdBที่พบวา ระยะทาง 25 เมตร คือ 28 dB

16.1.4 การเปลี่ยนแปลงท้ังระยะทางและกําลัง(Variationsofbothdistanceandpower) สมมติวาเราตองการคํานวณระดับความดนั เสียงท่ีระยะทาง26เมตรและเราใหกําลงั 10วัตตแก ลําโพงที่มีความไว (Sensitivity) 100 dB (SPL) ที่ 1 วัตต 1 เมตร
ท่ีระยะทาง 26 เมตรระดับความดันเสียงจะลดลง

และ กําลังที่ใหแกลําโพง 10 วัตต ระดับความดันเสยี งจะเพ่ิมขึ้น ดังนั้น ผลของการเปลี่ยนแปลงทั้งระยะทางและกําลัง

เราสามารถใหสูตรสําหรับการคํานวณไดดงั นี้ Ldir =Ls+10logPel –LQ –20logr

= 20 log 26 = 28.3 dB = 10 log 10 = 10 dB = 100 – 28.3 +10

โดยที่

Ldir คือ คาระดับความดันเสยี งทตี่ องการคํานวณ
Ls คือ คาระดับความดันเสยี งของลําโพง SPL1.1 หรือ ความไว (Sensitivity) ของ

ลําโพงเปน dB (SPL) ท่ี 1 วัตต 1 เมตร ในแนวแกน Pel คือ กําลังท่ีใชของลําโพง

LQ คือ ระดับที่เปล่ียนแปลงในแนวแกนและนอกแนวแกน r คือ ระยะทางที่หางจากลําโพง

112

= 81.7 dB

16.1.5 การหักเห(Refraction)

รูปที่77การหกั เห(Refraction)หรือการหักโคง(Bending)ของเสียง

การหักเห(Refraction)หรือการหักโคง(Bending)ของเสียงเกิดข้ึนจากการเดนิ ทางของเสียงจาก ตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตวักลางหนึ่งเชนการเดินทางของเสียงในอากาศท่ีมีอุณหภูมิแตกตางกัน จะทําใหความเร็วของเสียงแตกตางกันดวย รูปที่ 77 แสดงการหักเห (Refraction) หรือการหักโคง (Bending)ของเสียงท่ีทําใหเสียงเดินทางลอยสูงข้ึนโดยมีสาเหตุจากอณุ หภูมิ

16.1.6 การสะทอน(Reflection) แมวาผลของการสะทอน(Reflection)ของเสียงจะเปนสาเหตุสําคัญที่เกดิ ขึ้นในสภาพแวดลอม ภายในอาคาร (Indoor environment) แตสําหรับสภาพแวดลอมภายนอกอาคาร (Outdoor environment) การสะทอน (Reflection) ของเสียงจากสิ่งปลูกสรางที่อยูรอบขาง ก็อาจจะทําใหเกดิ เสียงกอง (Echo) ได หรือการประวิงเวลา (Time delay) ของเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงและ เสียงสะทอนทม่ี ีมากกวา 50 มิลลิวินาที จะทําใหผูฟงไดยนิ เสียงกองอยา งชัดเจน

โดยเหตุทเ่ีสียงเดินทางในอากาศดวยความเร็ว340เมตรตอ วินาทีถาความแตกตางระหวางระยะทาง ท่ีเสียงท่ีเดินทางโดยตรงกับระยะทางทเ่ี สียงท่ีเดินทางโดยการสะทอนมีคานอยกวา 17 เมตร หรือ เวลาที่แตกตางกัน 50 มิลลิวินาทีแลว เสยี งที่เดินทางโดยการสะทอนกลับมีผลเสริมใหกับเสียงท่ี เดินทางโดยตรงมากกวาจะทําใหเกดิ เสียงกอง

  

113

16.1.7 เสียงรบกวนจากสภาพแวดลอ มโดยรอบ(Ambientnoise) คุณภาพของระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต (Sound reinforcement) และ/หรือ ระบบเสียงสาธารณะ (Publicaddress)จะข้ึนอยกู ับระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบ(Ambientnoise) เสียงรบกวนตา งๆ เชน เสียงจากการจราจร เสียงจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือแมแตเสียงพูดจาก กลุมชนกลุมใหญก็สามารถสรางระดับเสียงรบกวนใหกบั ระบบผูออกแบบจะตองชดเชย ระดับเสียงรบกวนดังกลาว

เราสามารถคํานวณระดับความดันเสียงจากแหลงกําเนิดท่ีแทจริงในภาวะท่ีมีเสยีงรบกวนจาก สภาพแวดลอมโดยรอบ (Ambient noise) โดยลบระดับความดันเสยี งของเสียงรบกวนออกจาก ระดับความดนั เสียงรวมทวี่ ดั ได

เราสามารถใหสูตรสําหรับการคํานวณไดดงั นี้ Ls = 10 log [10 L1/10 – 10 L2/10]

โดยท่ี Ls คือ คาระดับความดนั เสียงจากแหลงกําเนิดท่ีตองการคํานวณ
L1 คือ คาระดับความดันเสยี งรวมท่ีอานได เปนผลรวมของระดับความดนั เสียงจาก

แหลงกําเนิดกบั ระดับความดันเสียงของเสียงรบกวน
L2 คือ คาระดับความดันเสยี งของเสียงรบกวนท่ีอานได เมอ่ื เราปดแหลงกําเนิดเสยี ง

ตัวอยาง
ถา L1 ระดบั ความดันเสยี งรวม มีคา
และ L2 ระดบั ความดันเสยี งของเสียงรบกวน มีคา ดังนั้น Ls ระดบั ความดันเสยี งจากแหลงกําเนิด มีคา

= 60 dB (SPL)
= 55 dB (SPL)
= 10 log [106– 10 5.5] = 58.3 dB (SPL)

114

    

17.0การคํานวณระบบเสียงสําหรบั สภาพแวดลอ มภายในอาคาร(Indoorenvironment)

  

17.1 คุณสมบัติทางเทคนิค

    

รูปท่ี 78 กราฟของระดับเสียงในสนามเสียงทางตรง (Direct field) และสนามเสียงของความกองสะทอน (Reverberant field)

เราจะประสบปญหาตางๆ ที่ยุงยากหลายประการสําหรับการออกแบบระบบเสียงในสภาพแวดลอม ภายในอาคาร(Indoorenvironment)มากกวาการออกแบบระบบเสียงในสภาพแวดลอ มภายนอก อาคาร (Outdoor environment)

ในการออกแบบหองปดที่ใชระบบเสียงเราจะจดัท่ีน่ังของผูฟงในพ้ืนที่ทผ่ีูฟงตองฟงเสียงหางจาก แหลงกําเนิดเสียงเสียงความถ่ีสูงจะมีการดูดซับโดยอากาศในขณะทเี่สียงความถ่ีตํ่าก็จะสราง ความกองสะทอ น (Reverberation) จากการกระทบและการสะทอนกับกาํ แพงหรือเพดานที่มี ลักษณะแขง็ ดงัน้ันในภาวะของหองท่ีมีความกองสะทอน(Reverberation)และระยะทางระหวาง ผูฟงกับแหลงกําเนิดเสยี งมีคา มาก เราจะประสบปญหา 2 อยางที่หูของผูฟงดังน้ี

115

1.    ระดับความดนั เสียงลดทอนลงตลอดสเปกตรัมของเสียงพูด (Speech spectrum) จาก แหลงกําเนิดเสียงทางตรง(Direct)หรือSPLdirตามหัวขอ 16.1.3 


2.    ความกองสะทอ น (Reverberation) ของสัญญาณความถ่ีตาํ่ ของสเปกตรัมเสียงพูด (Speechspectrum)จากการสะทอนและทศิ ทางอ่ืน(Reflected&Indirect)หรือSPLrev ผูฟงจะไดยินเสียงทุกๆเสียงในระดับทดี่ ังแตเสียงพยัญชนะในเสียงพดู จะถูกซอนหรอื ขจัดออกไปเนอื่ งจากความกอ งสะทอน(Reverberation)จนเกดิ ปญหาของความชัดเจน ในการไดยินเสียงที่ผูฟงไมส ามารถเขาใจในส่ิงท่ีผูพูดตอ งการส่ือสารได 


17.1.1 การสะทอนและการดูดซึม(Reflectionandabsorption)
เม่ือเรามีแหลงกําเนิดเสยี งอยใู นหองปด ท่ีมกี ําแพง พน้ื และ เพดาน บางสวนของพ้ืนผิวของหองจะ สะทอนเสียง แตบางสวนก็จะดูดซึมเสียง ความเขมของเสียงท่ีสะทอน (Reflected sound wave) Iref จะมีคานอยกวา ความเขมของเสียงท่ีตกกระทบ (Incident sound wave) Iinc โดยท่ีพลังงานของเสียงที่ ตกกระทบจะสูญเสียไปในการสะทอนของเสียงดวยคา α ที่เปนคาสัมประสิทธ์ิการดูดซึม (Absorption coefficient)

เราสามารถคํานวณไดจ ากสตู ร Iref = (1 - α) Iinc

โดยปกตแิ ลววัสดุกอสรางสวนใหญจะมีการวัดคาα สัมประสิทธ์ิการดูดซึม(Absorption coefficient) และ r สัมประสิทธ์ิการสะทอน (Reflection coefficient) โดยท่ี

α+r=1 เราจะเห็นวาถาr=1เสียงจะถูกสะทอนออกท้ังหมดหรือเสียงไมถูกดดู ซึมโดยวัสดเุลย

นั่นคือα =0

ตารางของสัมประสิทธ์ิการดูดซึม(Absorptioncoefficient)ของวัสดุตางๆแสดงไวท ี่หัวขอ20.0 เราจะสังเกตไดวา วัสดุที่มีการดูดซึมเสียงท่ีดีจะมีคาสัมประสิทธ์ิการดูดซึม (Absorption coefficient)สูงกวาตามแถบออกเทฟ(Octaveband)และวัสดุท่ีมีความออนนุมจะมผี ลการดูดซึม เสียงท่ีความถสี่ ูงดีกวา

1.                            

116

17.1.2 ความกองสะทอ น(Reverberation)

รูปท่ี 79 ผลของความกองสะทอน (Reverberation)

เสียงบางสวนจากแหลงกําเนิดเสียงในหองจะแพรกระจายโดยตรงไปยังผูฟง แตเสยี งสวนใหญจะ สะทอนกับพนื้ ผิวของวัสดกุ อนแพรก ระจายไปยังผูฟงการสะทอนของเสียงดังกลาวอาจจะเกดิ จาก การสะทอนเพยี งคร้ังเดียวหรอื หลายครั้งก็ได เราเรียกผลของการสะทอนดังกลาวเพียงคร้ังเดียวหรือ หลายคร้ังวา ความกองสะทอน (Reverberation) และผลของการสะทอนจะสรางสนามเสียงแพรซึม (Diffusefield)หรือสนามเสียงกองสะทอน(Reverberantfield)ตลอดทั่วทั้งหองระดบั สัญญาณที่ แทจริงของสนามเสียงแพรซึม (Diffuse field) หรือสนามเสียงกองสะทอน (Reverberant field) จะ ข้ึนอยูกับ 3 องคประกอบ ดังน้ี

1. คุณลักษณะทางเทคนิคของแหลงกําเนิดเสียง
2. ปริมาตรทางกายภาพของหอง
3. ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time)

17.1.3 ระยะเวลาความกองสะทอน(Reverberationtime)หรือRT60 ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 (T) หมายถึงระยะเวลาที่ทําใหระดับ เสียงกองสะทอ นท่ีเกิดขึ้น ทค่ี วามถี่หนึ่ง ลดลง 60 dB และมีหนว ยเปนวนิ าที เรามีสมมติฐาน เก่ียวกับการนาํ คาของระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) ไปคํานวณดังนี้

ระยะเวลาความกองสะทอน(Reverberationtime)ในหองจะเหมือนกนั ทั่วท้ังหอง ไมวาแหลงกําเนิดเสียงจะอยสู วนใดของหอ ง

ระยะเวลาความกองสะทอน(Reverberationtime)ในหองจะเหมือนกนั ท่ัวทั้งหอง ไมวาผูฟงจะอยูสวนใดของหอ ง

     

117

การขาดความชัดเจนของการไดยินเสยี ง (Intelligibility) ในหองเกิดจากระยะเวลา ความกองสะทอ น(Reverberationtime)ท่ียาวนานเสมอ

ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) จะขึ้นอยูกับปริมาตรของหอง และ การดูดซึมของเสียงทั้งหมด

ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ RT60 ตามกฎของซาไบน (Sabine) ใน ระบบสากล (SI) มีสูตรดังนี้

ดังนั้น โดยท่ี

_
RT60 =T =0.161V/(αS+4mV+nAp)

RT60 = T Volume = V Absorption=A

= 0.161 Volume / Absorption =αS+4mV+nAp

αS=Σ(αi Si)

V = ปริมาตรทั้งหมดของหอ ง หนวยเปน m3
A = คาการดูดซึมเสียงท้ังหมด (Total absorption) หนวยเปน m2 หรือ

ซาไบน (Sabine)
S=พ้ืนท่ีผิวทง้ัหมด(Surface)หนวยเปน m2
Si = พื้นท่ีผิว (Surface) หนวยเปน m2
m = การดูดซมึ ของบรรยากาศ (Atmosphere absorption) Ap=คาการดูดซึมเสียงของแตละคน(Absorptionperperson)หนวยเปน m2หรือ _ ซาไบน (Sabine)
α = สัมประสิทธ์ิการดูดซึมเฉลี่ย (Average absorption coefficient)
α = สัมประสิทธิ์การดูดซึม (Absorption coefficient)

จํานวนของผูฟงหรือผูชมในหองจะมีผลตอระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) เชนกันสําหรบั ในโรงมโหรสพเราใชผาพลัช(Plush)ที่มีลักษณะคลายกํามะหยี่หอหุมเกาอี้ การเปล่ียนแปลงจํานวนผูฟงหรือผูชมจะไมมีผลการเปล่ียนแปลงของระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberationtime)มากนกั เน่ืองจากคาการดูดซึมเสียงของเกาอ้ีท่ีผาคลุมจะมีคาเทากับคาการดูด ซึมเสียงของคนแตสําหรับสถานท่ีอ่ืนๆ เชนในสนามบิน (Airport) ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) ของหองท่ีมีจํานวนผูฟงมากจะมีผลการเปลี่ยนแปลงจากระยะเวลาความกอง สะทอน (Reverberation time) ของหองที่วา ง

118

เราสามารถคํานวณสูตรระยะเวลาความกองสะทอนใหมไ ด ดังนี้ ระยะเวลาความกองสะทอนใหม (New reverberation time) = VT/ [V + (6TnAp)]

โดยที่

V = ปริมาตรทั้งหมดของหอ ง หนวยเปน m3
T=ระยะเวลาความกองสะทอ นของหองเปลา(Reverberationtimeofemptyroom)

หนวยเปน วินาที(s)
n = จํานวนของผูฟงหรือผูชม Ap=คาการดูดซึมเสียงของแตละคน(Absorptionperperson)หนวยเปน m2หรือ

ซาไบน (Sabine)

    

รูปท่ี80คาระยะเวลาความกอ งสะทอนของหองแบบตางๆโดยข้ึนอยูกบั ปริมาตรทั้งหมดของหอง

ตัวอยางการคํานวณคาระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) หรือ T หองมีขนาดปริมาตร V = 30x20x10 m3 = 6,000 m3

ดังน้ัน T = 0.161x6,000 / A
A = คาการดูดซึมเสียงท้ังหมด (Total absorption) หนวยเปน m2

หรือ ซาไบน (Sabine)
119

เราสามารถคํานวณคาAไดด ังนี้

พื้นที่ผิว (Surface)

วัสดุ (Material)

α

ซาไบน (Sabine)

พื้นลาง (Floor)

พรม (Carpet)

30x20x0.37

222

กําแพงขาง (Side wall)

อิฐ (Bricks)

30x10x0.10

30

กําแพงขาง (Side wall)

อิฐ (Bricks)

30x10x0.10

30

กําแพงหนา (Front wall)

ผนังไม (Woodpanel)

20x10x0.10

20

กําแพงหลัง (End wall)

ผนังไม (Woodpanel)

20x10x0.10

20

เพดาน (Ceiling)

กระดานแข็ง(Hardboard)

30x20x0.15

90

 

คาการดูดซึมเสียงทั้งหมด (Total absorption)

412

เราจะได T=0.161x6,000/412 =2.34วินาที

ทั้งนี้ เราละเลยคาการดูดซึมของบรรยากาศ (Atmosphere absorption) และ คาการดูดซึมเสียงของคน (Absorption of person)

120

17.1.4 การคํานวณสนามเสียงทางตรงและสนามเสียงของการสะทอน(DirectandReflected sound field)

     

รูปท่ี 81 สนามเสียงทางตรงและสนามเสียงของการสะทอน (Direct and reflected sound field)

เราควรจะเขาใจลักษณะของสนามเสียงแบบตางๆที่เดินทางในหองปด เสียงท่ีมีการแพรกระจาย ออกจากแหลงกําเนิดกอนจะนําพาความชัดเจนของการไดยินเสยี ง (Intelligibility) สวนเสียงที่มี การแพรกระจายออกจากแหลงกําเนิดทีหลงั จะนําพาการรบกวน เราจะไดยินเสียงของผลรวมของ เสียงพูดท้ังหมดคือเสียงจากทิศทางตรง (Direct sound) และเสียงจากทศิ ทางอ่ืน (Indirect sound) ที่ เกิดจากการสะทอนแพรกระจายภายในชวงเวลา 20-30 มิลลิวินาที

  

รูปที่82เสียงที่มีประโยชนแ ละเสียงท่ีนําพาการรบกวน

121

สูตรสําหรับการคํานวณระดบั ความดังของเสียงของเสียงจากทิศทางตรง(Directsound)และ เสียงจากทิศทางอ่ืน (Indirect sound) มีดังน้ี

เสียงจากทิศทางตรง (Direct sound)
Ldir =Ls+10logPel –LQ1 –20logr1

เสียงจากทิศทางอื่น (Indirect sound)
Lindir =Ls+10logPel –LQ2 +10log(1–α1)–20logr2 Lindir =Ls+10logPel –LQ3 +10log(1–α2)–20logr3

จากเพดาน จากพ้ืน

โดยท่ี Ldir

คือ คาระดับความดันเสยี งจากทิศทางตรง (Direct sound)
Lindir คือ คาระดับความดันเสยี งจากทิศทางอื่น เปนเสียงที่มีการแพรกระจายออกจาก

แหลงกําเนิดทหี ลังและนําพาการรบกวน(Indirectsound)
Ls คือ คาระดับความดันเสยี งของลําโพง SPL1.1 หรือ ความไว (Sensitivity) ของ

ลําโพงเปน dB (SPL) ท่ี 1 วัตต 1 เมตร ในแนวแกน
Pel คือกําลังท่ีใชของลําโพง(วตั ต)
LQ คือ ระดับที่เปล่ียนแปลงในแนวแกนและนอกแนวแกน α คือ สัมประสิทธิ์การดูดซึม (Absorption coefficient)
r คือ ระยะทางที่หางจากลําโพง (เมตร)

122

17.1.5 การคํานวณสนามเสียงกองสะทอน(Reverberationsoundfield)
เสียงตางๆ ท่ีเดินทางยาวนานกวาชว งเวลา 20-30 มิลลิวินาที จะเปน เสยี งท่ีนําพาความอึกทึก ไมมีขอมูลที่ชัดเจน และมีการสะทอนท่ียุงเหยิง เราเรยี กวา ความกองสะทอน (Reverberation)

ระดับความดนั เสียงที่กองสะทอน(Lrev)จะข้ึนอยกู ับแหลงกําเนิดเสียงปริมาตรของหองและ ระยะเวลาความกองสะทอน เราสามารถใหสูตรสําหรับการคํานวณระดบั ความดันเสยี ง ที่กองสะทอนไดดังน้ี

__

Lrev =120+10log[(25T(1–α))/V]Pac __

α =(V/6T)x(1/S)

Pac =Pelxη _

Lrev =120+10log25/100–10logV+10logT(1–α)η[%]Pel ____

=114–10logV+10logT+10log(1–α)+10logΣη[%]Pel
T คือระยะเวลาความกองสะทอน(Reverberationtime)หนวยเปน วินาที(s)

V คือปริมาตรของหองหนวยเปน m3

__
α คือ สัมประสิทธ์ิการดูดซึมเฉลี่ย(Average absorption coefficient)

S คือพื้นท่ีผิว(Surface)หนวยเปน m2
Pac คือ กําลังท่ีใชของลําโพง (วัตต) คูณดวยประสิทธิภาพ (Efficiency) ของ

ลําโพงท่ีเปนเศษสวน
Pel คือ กําลังที่ใชของลําโพง (วัตต)
η คือ ประสิทธิภาพ (Efficiency) ของลําโพงท่ีเปนเศษสวน η[%] คือ ประสิทธิภาพ (Efficiency) ของลําโพงที่เปนเปอรเซ็นต

โดยที่

123

สรุปสูตรสําคัญในการคํานวณ

 

Ldir =Ls(SPL1.1)+10logPel–20logr
Ldir =Ls(SPL1.1)+10logPel–LQ–20logr

(ในแนวแกน) (นอกแนวแกน)

__

Lindir =Ls(SPL1.1)+10logPel –LQ +10log(1–α)–20logr __

Lrev =114–10logV+10logT+10log(1–α)+10logΣη[%]Pel

  

17.1.6 การคํานวณอตั ราสวนเสียงท่ีถึงกอนตอเสียงท่ีถึงทีหลัง(Early/lateratio) เราเรียกผลตางของระดับระหวางเสียงจากทศิ ทางตรงท่ีมีประโยชน(Usefuldirectsound)กับ เสียงกองสะทอ นที่นําพาการรบกวน(Disturbingreverberantsound)วาอัตราสวนเสียง ที่ถึงกอนตอเสียงที่ถึงทีหลัง(Early/lateratio)และเปน วิธกี ารท่ีเหมาะสมในการวัด ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)

ระดับเสียงท่ีมปี ระโยชน (Useful sound) จะแปรผันตามตําแหนงตางๆ ในหอง ท่ีข้ึนอยูกับระยะทาง มุมและการสะทอนท่ียังคงชัดเจนอยูสวนระดับเสียงกอ งสะทอน(Reverberantsound)จะข้นึ อยกู ับ พลังงานของเสียงท่ีแพรกระจายทั้งหมด และคุณสมบัติของหอง เชน ปริมาตร (V) ระยะเวลาความ กองสะทอน (T) และ สัมประสิทธ์ิการสะทอน (r หรือ 1 – α)

อัตราสวนเสียงท่ีถึงกอนตอเสียงท่ีถึงทีหลัง (Early/late ratio) เปนคาท่ีจะนําเขาไปยังกราฟของ ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)ดังรูปที่83เพื่อหาคาของดัชนี การสงผานของเสียงพูด(Speechtransmissionindex)หรอื STIและคาการสูญเสียความฟงชัดของ พยัญชนะในเสียงพูด (Articulation losses of consonants) หรือ %ALconsไดอยางรวดเร็ว

หลังจากคํานวณผลตางของระดับระหวางเสียงจากทิศทางตรงท่ีมีประโยชน (Useful direct sound) กับเสียงกองสะทอนท่ีนําพาการรบกวน (Disturbing reverberant sound) ท่ีตําแหนงตางๆ ท่ีสําคัญ ในหองแลว เราก็จะนําคาของการคํานวณทไี่ ดเขากราฟจากดานลางของกราฟแลวลากเสนขึ้นไปชน กับจุดตดั ของระยะเวลาความกองสะทอนท่ีแทจริง (Actual reverberation time) ตัวอยาง เราสมมติ คา T = 3 วินาที เราจะสามารถอานคาดัชนีการสงผานของเสียงพูด (Speech transmission index) หรือSTIทางดานขวาของกราฟไดจากตัวอยางเราจะไดค า4dB>STI=0.585

124

ตัวอยางขั้นตอนการคํานวณสําหรับระดับความดันเสียง (Sound Pressure level) หรือ SPL ที่แตกตางกัน

ในหองออดิทอเรียม (Auditorium) รูปส่ีเหลียมผืนผาที่มีขนาดปริมาตร 20x20x10 m3 เราติดต้ัง ลําโพงท่ีดานซายและดานขวาของเวที และเล็งมุมของลําโพงเขามายังกึ่งกลางของหอง (16 m) เราจะคํานวณโดยใชขอมูลของลําโพงและหองท่ีความถ่ี 1 kHz ดังนี้

ขอมูลของหอง
ปริมาตร V = 20x20x10 = 4,000 m3 ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) T = 2.5 s

สัมประสิทธ์ิการดูดซึม (Absorption coefficient) α = 0.2 ระยะทางD=16m

คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพง
กําลังที่ลําโพงสามารถรับได (Power handling capacity) หรือ PHC = 50 วัตต ความไว (Sensitivity) SPL1.1 = 96 dB (SPL)
ประสิทธิภาพ (Efficiency) η = 0.36 %

SPLdir =96+10log50–20log16 =96+17–24 เนื่องจากเสยี งมาจาก 2 ลําโพง = 89 + 3

สําหรับระยะทางคร่ึงหนึ่ง (+6 dB) และ (-6 dB) นอกแนวแกน (Off axis) เราสมมติวามีระดับความดนั เสียงเทากนั
SPLrev =114–10log4,000+10log2.5+10log0.8+10log2x0.36x50=96.5dB(SPL) Lrev–Ldir =96.5–92=4.5dB >>T=2.5s >>RASTI=0.60

125

=89dB(SPL) = 92 dB (SPL)

=92dB(SPL)

    

รูปท่ี 83 กราฟของความชัดเจนของการไดย ินเสียงพูด (Speech intelligibility) ดัชนีการสงผานของเสียงพูด (Speech transmission index) หรือ STI และดัชนกี ารสงผานของเสียงพูดแบบเร็ว(Rapidspeechtransmissionindex)หรือRASTI

รูปท่ี 83 แสดงกราฟของความชัดเจนของการไดยินเสียงพูด (Speech intelligibility) STI & RASTI ที่สามารถชวยในการแปลความหมายของระดับสัญญาณที่แตกตางกนั ของเสียงจากทิศทางตรง (Directsound)ท่ีมีประโยชนกับเสียงจากทศิ ทางอื่น(Indirectsound)ท่ีนําพาการรบกวน เปนความชัดเจนของการไดยินเสียงพูด(Speechintelligibility)ระดับสญั ญาณของเสียงท่ีมี ประโยชนนจี้ ะเปล่ียนแปลงตามจุดแตล ะจดุ ในหอง และขึ้นอยูกับระยะทาง มุม และเสียงสะทอนที่ ยังคงชัดเจนอยู

126

ตัวอยางตอไปนี้จะเปน การคาํนวณของระบบเสียงในหองที่มีลําโพง2ตัว
สมมติวา _
Lrev =114–10logV+10logT+10log(1–α)+10logΣη[%]Pel=100dB(SPL)

Ldir (1) = Ls (SPL1.1) + 10 log Pel – LQ1 – 20 log r1
Ldir (2) = Ls (SPL1.1) + 10 log Pel – LQ2 – 20 log r2
Lref (1) = Ls (SPL1.1) + 10 log Pel – LQ3 – 20 log r3
Lref (2) = Ls (SPL1.1) + 10 log Pel – LQ4 – 20 log r4 รวมระดับสัญญาณของเสียงท่ีมีประโยชน (ภายใน 25 มิลลิวินาท)ี ระดับสัญญาณของเสียงท่ีกอ งสะทอน ลบ ระดับสัญญาณของเสียงที่มปี ระโยชน
ผลตาง = 4 dB (SPL)

หลังการคํานวณระดับเสยี งแตละจุดท่ีสําคญั ในหอง เรากจ็ ะนําคาการคํานวณที่ไดเขากราฟ จากดานลางของกราฟ เราลากเสนข้ึนไปชนกับจุดตัดของระยะเวลาความกองสะทอนที่แทจริง (Actualreverberationtime)ในท่ีนี้เราสมมติคาT=3วนิ าทีและอานคาดัชนีการสงผานของ เสียงพดู (Speechtransmissionindex)หรือSTIทางดานขวาของกราฟจากตัวอยางเราจะได คา4dB>STI=0.585

17.1.7 ดัชนีการสงผานของเสียงพูด(Speechtransmissionindex)หรือSTIและ ดัชนีการสงผานของเสียงพดู แบบเร็ว(Rapidspeechtransmissionindex)หรือRASTI

17.1.7.1 บทนํา
เราควรจะคํานงึ ถึงคุณภาพของความชัดเจนของการไดย นิ เสียงเปนกรณีพิเศษ เน่ืองจากคุณภาพของ ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงเปนปจจยั ท่ีมีความสําคัญสําหรับการออกแบบระบบเสียงในสถานท่ี ตางๆ เชนหองออดิทอเรียม หองประชุม โรงละคร โรงมหรสพ จากประสบการณท่ีผา นมา เราพยายามประเมินคา (Assess) ความชัดเจนของการไดย นิ เสียง (Intelligibility) ดวยวธิ ีตางๆ กัน

วิธีหนึ่งที่มกี ารปฏิบัติกนั มาคือวิธีประเมินคาโดยใชผูเกยี่ วของ (Subjective method) ในท่ีนี้คือผูพูด และผูฟงเราอาศัยวิธีนับคําพดู ของผูพูดและคําพูดที่มาถึงผูฟงโดยผูพูดและผูฟงจะตองไดรับ การฝกอบรมมาเปนอยางดี แตวิธีดังกลาวจะใชเวลาคอนขางมาก และในบางกรณี เราไมสามารถ ประเมินคาไดเ พราะผลของความไมแนนอนของผูปฏิบัติ

= 93 dB (SPL) = 90 dB (SPL) = 87 dB (SPL) = 87 dB (SPL) = 96 dB (SPL)

 

127

เราพยายามคดิ คนวิธีการใหมโ ดยใชว ิธีประเมินคาตามวัตถุประสงค (Objective method) เราอาศัยวธิ ี วัดความชดั เจนของการไดย นิ เสียง (Intelligibility) จากปจ จัยสําคัญตางๆ ทางอะคูสติก (Acoustic) เชน สัญญาณรบกวนแบ็กกราวด (Background noise) และความกองสะทอน (Reverberation) ตัวอยางการประเมินคาตามวัตถุประสงค(Objectivemethod)เชนวิธีประเมินคาดัชนคี วามฟงชัด (Articulation index, AI) ท่ีมีพื้นฐานจากการวัดอัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวนพรอม การแกไขและผลจากปญหาของความกองสะทอน (Reverberation)

17.1.7.2 STI วิธีประเมินคาตามวัตถุประสงค(Objectivemethod)อีกวิธีหนึ่งทใี่ชงานกันอยางแพรห ลายคือ วิธีประเมินคาในการวัดดัชนกี ารสงผานเสียงพูดหรือSTI(Speechtransmissionindex)ที่มี วัตถุประสงคในการประเมินคาสําหรับการวัดคุณภาพของการสงเสียงพดู (Speechtransmission) ที่เกี่ยวของกับความชัดเจนของการไดยนิ เสียง(Intelligibility)วิธีSTIมีมาตรฐานIECรองรับคือ IEC 268, part 16

วิธีประเมินคา STI มีประเด็นในการประเมนิ คาเหมือนกบั วิธีประเมินคา ดัชนีความฟงชัด (Articulation index, AI) แตม ีจุดเดน กวาหลายประการ ดงั นี้

        วิธีประเมินคา STI ไดรวมผลกระทบของสัญญาณรบกวนแบ็กกราวด (Background noise) และความกองสะทอน(Reverberation)ไวแ ลว 


        ไมจําเปนตองแยกวัดระดับสัญญาณ (Signal) และสัญญาณรบกวนแบก็ กราวด (Background noise) 


        ใชเวลานอยกวา 10 วินาทีในการวดั เพื่อประเมินคา STI 
วิธีประเมินคา STI นี้ เราใชทฤษฎีท่ีวาความสามารถในการเขาใจคําพูดขนึ้ อยูกับการฟง เสียงท่ี ถูกตองของการมอดูเลตความถ่ีตํ่า (Low-frequency modulation) ของสัญญาณคล่ืนพาหเสียงพดู (Speech carrier signal) ที่เช่ือมโยงกับจังหวะที่เปลี่ยนแปลง (Fluctuation rhythm) ที่พบในเสียงพดู 
ดัชนีการสงผานของเสียงพูด (Speech transmission index) หรือ STI เปนดัชนีที่มีคาระหวาง 0 กับ 1 เราใชเปนวิธีวดั ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)เราไดด ัชนนี ้ีจาก การวัดคาที่ลดลงในการมอดเู ลตสัญญาณ (Signal modulation) ระหวางตําแหนงของแหลงกําเนิด สัญญาณกับตําแหนงของผูฟง 


128

17.1.7.3 การวัดRASTI
เราไดพัฒนาซอฟตแวรพเิ ศษสําหรับวัดคา STI และจัดหาขอมูลเพ่ิมเติมของคา STI ท่ีวิเคราะหได ระบบที่ใชสําหรับวัดคา STI ประกอบดว ยเครื่องคอมพิวเตอรท่ีใชสงสัญญาณทดสอบพิเศษ แลว วิเคราะหสัญญาณที่รับได จากนั้นก็นํามาคํานวณหาคา STI บนพ้ืนฐานของการวัดการเปล่ียนแปลง การมอดูเลตสัญญาณ (Signal modulation) ดังนั้น เราจะไดคา STI จากสัญญาณท่ีมีคาลดลง และ รวมกับผลกระทบของความกองสะทอนของหอง (Room reverberation) และสัญญาณรบกวน แบ็กกราวด (Background noise) ไวแลว เราสามารถนําคา STI ท่ีวัดไดในสถานที่ตางๆ มา เปรียบเทียบกนั และนํามาเปล่ียนแปลงเปนคะแนนการสมดุลของการออกเสียงเปรียบเทียบกับ คําพูดไรสาระ หรือ PB-word score (Phonetically balanced vs. nonsense word) ที่เราไดจัดทําและ จัดพิมพขึ้นบนพื้นฐานการศึกษาเปรียบเทียบ

เราสามารถใชระบบการวดั คาตามวัตถุประสงค(Objectivemeasurement)ของความชัดเจนของ การไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)ท่ีใชในหองออดิทอเรียมโรงมหรสพโบสถโรงเรียน มาใชทดแทนในการทดสอบระบบเสียงประกาศสาธารณะ (Public address system) ในหองพกั ผูโดยสารของสนามบิน สถานีรถไฟ โรงงานอุตสาหกรรม และระบบเสียงประกาศสาธารณะฉุกเฉนิ (Emergency PA system) นอกจากน้ี เรายังใชระบบเปนเคร่ืองมือสําหรับการประเมินคาของการวัดที่ มีประสิทธิผลรวดเร็วและชดั เจนในการปรับปรุงความชัดเจนของการไดยินเสียงพดู (Speech intelligibility) ในสถานการณตางๆ กัน

17.1.7.4 วิธีSTI(STImethod)
วิธี STI เปนวธิ ีแสดงเชิงปริมาณของความชัดเจนของการไดยินเสยี ง (Intelligibility) จากการสงผาน เสียงพูด (Transmitted speech) การสงเสียงพูดท่ีสมบูรณส ามารถแสดงไดจากกรอบคลื่นเสยี งพูด (Speech envelope) ชั่วคราวที่ตําแหนงของผูฟง ที่ทําซ้ําจากกรอบคล่ืนเสียงพูด (Speech envelope) ท่ี ปากของผูพูด เราสามารถแสดงปริมาณความชัดเจนของการไดยินเสียงพูด (Speech intelligibility) ในสวนทเี่ กิดการเปลี่ยนแปลงการมอดูเลต (Modulation) กรอบคล่ืนเสียงพูด (Speech envelope) จาก ผลของสัญญาณรบกวน (Noise) และ ความกองสะทอนของหอง (Room reverberation) ตัวประกอบการลดลงของการมอดูเลต (Modulation reduction factor) สามารถแสดงในรูปของ ฟงชันของความถี่มอดูเลต (Modulation frequency) ที่เรียกวา ฟงชันถา ยโอนการมอดูเลต (Modulation transfer function, MTF) เราสามารถแสดงคา STI จากฟงชันน้ีท่ีใหคาของ การประเมินคา ตามวัตถุประสงคของคุณภาพของการสงผานเสียงพูด (Speech transmission)

129

รูป ก. รูป ข.

17.1.7.5 สัญญาณทดสอบ(Testsignal)
วิธีSTIเกี่ยวขอ งกับการวดั การลดลงในการมอดูเลต(Reductioninmodulation)ของสัญญาณ ทดสอบท่ีสงผาน (Transmitted test signal) สัญญาณทดสอบ (Test signal) มีคุณลักษณะ (Characteristic) เฉพาะทใ่ี ชแ ทนเสียงพูด (ตัวอยางแสดงในรูป ก.) สัญญาณท่ีใชในวธิ ี RASTI ประกอบดว ยสัญญาณคลื่นพาหสัญญาณรบกวนที่มอดเู ลตความเขม (Intensity modulated noise carrier signal) กับกรอบคลื่นมอดูเลต (Modulation envelope) ที่แสดงในรูป ข. เราออกแบบ สัญญาณ STI ใหเลียนแบบ (Simulate) คุณลักษณะ (Characteristic) ของเสียงพูด คือสัญญาณ คลื่นพาห (Carrier signal) และการมอดูเลตความเขมความถ่ีต่ํา (Low-frequency intensity modulation) สัญญาณคล่ืนพาห STI (STI carrier signal) ประกอบดว ยพิงกนอยสท่ีจาํ กัด
2 แถบออกเทฟ (Octave of band limited pink noise) ที่ 500 Hz และ 2,000 Hz

เราจะเลือกระดับสัญญาณในแถบออกเทฟ(Octaveband)เหลานี้ใหเทากับระดับสญั ญาณเฉลี่ยที่ มักจะพบในระดับเสียงพูดทวั่ ไป เชน ระดบั สัญญาณ 59 dB ที่แถบออกเทฟ 500 Hz และ ระดับสัญญาณ 50 dB ท่ีแถบออกเทฟ 2,000 Hz ที่ระยะทาง 1 เมตร

130

เราสามารถเลียนแบบการมอดูเลตความถ่ีตํ่า (Low-frequency modulation) ท่ีแสดงในเสียงพูดใน สัญญาณทดสอบ STI (STI test signal) โดยความถ่ีที่มอดูเลต 9 ความถ่ีที่ไมตอเนื่อง
(9 discrete modulation frequencies) ระหวา งความถ่ี 1 Hz กับ 11.2 Hz ท่ีเปนความถี่ทย่ี ืดขยาย ขอบเขตของความถ่ีท่ีพบในเสียงพูด

17.1.7.6 การวัด(Measurement)
เราวัดคา STI โดยสงผาน (Transmit) สัญญาณทดสอบพิเศษ (Special test signal) แลววิเคราะห สัญญาณที่ตําแหนงของผูฟง เม่ือเราคํานวณดัชนีการลดลงในการมอดูเลต (Reduction in modulation index)สําหรับแตละความถี่ทม่ี อดูเลต9ความถี่(9modulationfrequencies)เราจะแปลคาดัชนี การลดลงของการมอดูเลตท้ัง9(9reductionindices)ที่ไดรับเสมือนกับการเกดิ จากสัญญาณรบกวน แบ็กกราวด (Background noise) อยางเดียว จากนั้น เราจะคํานวณอัตราสวนสัญญาณตอ สัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio) ท่ีมีผลของการวัดการลดลงในการมอดูเลต (Reduction in modulation) คา STI เปนคาเฉล่ียทางคณิตศาสตรของอัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio) ที่ปรากฏ โดยปกติดัชนจี ะมคี าระหวาง 0 กับ 1

17.1.7.7 สัญญาณรบกวนแบก็ กราวด(Backgroundnoise)และความกองสะทอน (Reverberation)

เรากําหนดการลดลงในการมอดูเลต(Reductioninmodulation)ของสญั ญาณเสียงพูด(Speech signal) จาก 2 ปจจัย คืออัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio, S/N) ท่ี ตําแหนงของผฟู งและความกองสะทอน(Reverberation)ที่เปนฟงชนั ของตําแหนงของผูพูดและ ตําแหนงของผฟู งคาSTIเกดิ จากการรวมกันทุกรูปแบบของท้ังสองปจจัยในทางปฏิบัติเราจะ ไมทราบถึงความสัมพันธของอัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio, S/N) และความกองสะทอนของหอ ง(Roomreverberation)แตท ั้ง2ปจจัยจะเปนขอมูลที่มีประโยชนจาก การศึกษาฟงชนั ถายโอนการมอดูเลต(Modulationtransferfunction,MTF)

ถาสัญญาณรบกวนแบ็กกราวด (Background noise) มีปจจัยเหนือกวาความกองสะทอน (Reverberation) ฟงชันถายโอนการมอดูเลต (Modulation transfer function, MTF) จะมีลักษณะ แบนราบ (Flat) เน่ืองจากสัญญาณรบกวนแบ็กกราวด (Background noise) จะมีผลตอการมอดูเลต (Modulation) ท่ีมีขนาดเดยี วกันท่ีความถ่ีการมอดูเลต (Modulation frequency) ท้ังหมด แตถาความ กองสะทอน (Reverberation) มีปจจยั เหนือกวาสัญญาณรบกวนแบ็กกราวด (Background noise) แลวฟงชันถายโอนการมอดูเลต (Modulation transfer function, MTF) จะมีลักษณะลาดชันลง (Negativeslope)เพราะวาผลของความกองสะทอน(Reverberation)จะทําใหก รอบคลื่น

131

ความเขมเสียง (Sound intensity envelope) เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว และจะทําใหกรอบคลื่นพรามัว (Blur)เม่ือเปรียบเทียบกับการเปล่ียนแปลงที่ชากวาดังนน้ั การลดลงในการมอดูเลต(Reductionin modulation) จึงมีผลสําคัญกวาความถี่การมอดูเลตที่สูงกวา (Higher modulation frequency)

17.1.7.8 แบบจําลองตามทฤษฎี(Theoreticalmodel) เราสามารถคํานวณคาSTIไดจากคณุ ลักษณะอะคูสติก(Acousticcharacteristic)ของหองท่ีมีปญหา และเราสามารถกําหนดคา STI ท่ีเก่ียวของกับความชัดเจนของการไดย นิ เสียงพูด (Speech intelligibility) ท่ีตองการไดตง้ั แตขั้นตอนการออกแบบ เราสามารถตรวจสอบการวัดคา STI ท่ี แทจริงไดใ นหอ งท่ีกอสรางเสร็จแลว เพ่ือเปรียบเทียบกบั แบบจําลองตามทฤษฎี (Theoretical model)

เราสามารถคํานวณฟงชันถายโอนการมอดเู ลต (Modulation transfer function, MTF) ตามพื้นฐาน STI จากความเขาใจในเรื่องของระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time, T) และอัตราสวน สัญญาณตอสัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio, S/N)

17.1.7.9 ขอจํากัด(Limitations)
วิธี RASTI มีขีดจํากัดของเงื่อนไขสําหรับการวัดที่ทําใหเกิดผลที่แทจรงิ ได ดังน้ี

        ในวิธี STI การสงผานเปนการสง ผานเชิงเสน (Linear transmission) แตจะไมรวม ผลของความเพี้ยนไมเชิงเสน (Non-lineardistortion)และการขริบ(Clipping) 


        เราจะไมใ ชเสียงสัญญาณความเขมแทจริง (Intense pure tone) ในสเปกตรัม แบ็กกราวด (Background spectrum) นอกเหนือแถบ (Band) 500 Hz และ 2,000 Hz 


        สัญญาณรบกวนแบก็ กราวด (Background noise) จะมีคาไมเปล่ียนแปลงตลอดเวลา 
การวัด 


        ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) ของหอง ไมควรเปลี่ยนแปลง 
มากตามความถ่ี 
ถาเงื่อนไขดังกลาวไมเปน ไปตามขอสมมติท่ีต้ังไวผลที่ไดรับก็อาจจะไมเปนไปตามผลของการวัดที่ แทจริง อยา งไรก็ตาม เราสามารถใชเปรียบเทียบผลของการวัดตามวัตถุประสงคภายใตเง่ือนไข เดียวกัน 


132

17.1.8 ความหมายของ%ALconsและRASTI

  

%ALcons= 1 – 10% RASTI ≥ 0.50

ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)เพียงพอ สําหรับขอมูลขาวสารที่ซับซอนของการบรรยายจากผพู ูดและผูฟงที่ ไมไดรับการฝก อบรม

%ALcons= 10 – 15% RASTI = 0.50 – 0.45

ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)เพียงพอ สําหรับขอมูลขาวสารที่ไมคอยซับซอนโดยผูพูดที่ไมไดร ับการฝกอบรม แตยังคงเพยี งพอสําหรับขอมูลขาวสารที่ซับซอนในลักษณะของเสียงพดู และสําเนียงทชี่ ัดถอยชัดคํา

%ALcons= 15 – 30% RASTI = 0.45 – 0.32

ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด(Speechintelligibility)เพียงพอ สําหรับขอมูลขาวสารที่ธรรมดาและการประกาศสําหรับขอมูลขาวสารที่ ซับซอนและตองการผูพูดและผูฟงที่ไดรับการฝกอบรม

%ALcons= 30 % RASTI = 0.32

มีการจํากัดการยอมรับของความชัดเจนของการไดยนิ เสียงเฉพาะขอมูล ขาวสารที่ธรรมดาและตองการผูพูดและผฟู งที่ไดรับการฝกอบรม

รูปท่ี 84 ความหมายของ %ALcons และ RASTI

133

17.1.9 การแปลงRASTIเปน%ALcons

 

RASTI

% ALcons

RASTI

% ALcons

RASTI

% ALcons

0.20

58

0.44

16

0.68

4.3

0.22

52

0.46

14

0.70

3.8

0.24

47

0.48

13

0.72

3.4

0.26

42

0.50

11

0.74

3.1

0.28

37

0.52

10

0.76

2.8

0.30

34

0.54

9.1

0.78

2.5

0.32

30

0.56

8.2

0.80

2.2

0.34

27

0.58

7.4

0.82

2.0

0.36

24

0.60

6.6

0.84

1.8

0.38

22

0.62

5.9

0.86

1.6

0.40

20

0.64

5.3

0.88

1.4

0.42

18

0.66

4.8

0.90

1.3

% ALcons = 170.5405 e –5.419(STI)
STI = -0.1845 ln (% ALcons) + 0.9482 ที่มา : Farrel Becker

รูปที่ 85 การแปลง RASTI เปน % ALcons

134

    

18.0 การออกแบบระบบเสียง

  

18.1 การจัดวางตําแหนงและการครอบคลุมพ้ืนทขี่ องลําโพง (Loudspeaker placement and coverage)

มีขอควรพิจารณาในทางปฏบิ ัติบางประการ สําหรับการเลือกชนิด การจัดวางตําแหนง และ การเล็งมุมของลําโพงในการออกแบบระบบเสียง

1.    เราจะตองวางตําแหนงลําโพงใหสามารถแพรกระจายเสียงไดอยางสม่ําเสมอ เพื่อให ลําโพงสามารถสงเสียงไปยงั ผูฟงไดทุกจดุ ในหองดวยระดับความดังทพี่ อเพียงและมี ความชัดถอยชดั คําถาเราจัดวางตําแหนงลําโพงในตําแหนงที่ไมดีผฟู งบางคนอาจจะ ไดยินเสียงที่ดงั เกินไป ในขณะที่ผูฟงบางคนอาจจะไดย นิ เสียงที่ไมชัดเจน 


2.    สําหรับการสงผาน (Transmission) และ การถายทอด (Reproduction) เสียงพูด เรา ตองการผลตอบสนองความถ่ีที่นาพอใจ ในแถบความถ่ี 500 Hz ถึง 5 kHz ในขณะที่ เสียงเพลงหรือเสียงดนตรี เราตองการผลตอบสนองความถ่ีท่ีนาพอใจ ในแถบความถ่ี 100Hzถึง10kHzเราจะตองเลือกลําโพงใหเหมาะสมกบั การใชงาน 


3.    สําหรับการใชง านเสียงพูด ความถี่ท่ีแถบออกเทฟ 4,000 Hz มีความจําเปนสําหรับ การประกาศเสียงพยัญชนะที่หมายถึงความชัดเจนของการไดยินเสียง (Intelligibility) ดังน้ัน เราจะตอ งเลือกขอมูลของมุมเปดของลําโพงท่ีความถี่ 4,000 Hz สําหรับ การคํานวณใหค รอบคลุมพื้นที่ที่เทากันของลําโพงแตละตวั 


4.    สําหรับการติดต้ังลําโพงติดเพดาน เราจะตอ งพิจารณาถึงการครอบคลุมพื้นที่ของ ลําโพงที่ความถี่ 4,000 Hz ( -6 dB) เราจะสามารถคํานวณจํานวนของลําโพงติดเพดาน ไดโดยนําพื้นท่ีท่ีตองการท้ังหมดหารดว ยพื้นที่ที่ครอบคลุมของลําโพงและผูฟงจะได ยินเสียงในระดับความดังที่เทากันตลอดสเปกตรมั ท่ีตองการ 


5.    ในการติดตั้งลาํ โพงจํานวนหลายๆ ตัว เราควรติดตั้งลําโพงแตละตัวใหห างกันนอยกวา 15 เมตร เพื่อชว ยลดปญหาเร่ืองเสียงกอง (Echo) หรืออาจจะใชอุปกรณไทมดีเลย (Time delay) ชวย (โปรดดหู ัวขอ 10.0) 


6.    เราควรจะเลือกลําโพงที่มีการระบุคุณสมบัติทางเทคนิคท่ีครบถวนมาคํานวณหาคา ระดับความดนั เสียง(SPL)ของแตละจุดของพ้ืนที่หรือหอ งตามหัวขอที่16.0และ17.0 หรือเราอาจจะใชซอฟตแวรป ระยุกตชื่อ EASE (Electro Acoustic Simulator for Engineer) คํานวณและแสดงผลการคํานวณเปนกราฟ 


135

7.    เราควรจะคํานวณระดับความดันเสียงที่ระดับ 1.20 เมตรสูงจากพื้น โดยความสูงนี้เปน ระดับความสูงเฉลี่ยของระดบั หูของคนระดับคายอด(Peak)ของเสียงพูดที่เปน ระดับเสียงที่ฟง ไดอยางสบาย (Comfortable listening level) หรือ CLL จะอยูท่ีระดับ ประมาณ 80 dB (SPL) และเปนระดับคายอด (Peak) ของการพูดจากการวัดที่ระยะ 
1 เมตร เรามีสมมติฐานวาระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบ (Ambient 
noise) มีระดับต่ํา 


8.    ระดับเสียงรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบ (Ambient noise) สามารถสราง 
ความแตกตางแกระดับเสียงท่ตี องการสําหรับความชัดเจนของการไดย นิ เสียง (Intelligibility) ที่พอเพยี ง โดยเฉพาะอยางย่ิงสถานท่ีที่มีระดับเสียงรบกวนดังมากๆ เชนโรงงานสนามบินเปนตน เราจึงควรใหระดับความดังคายอด(Peak)ของระบบมี ความดัง 15 dB มากกวาระดับความดังของเสียงรบกวน และเราควรจะใชไมโครโฟนที่ มีวงจรบีบอัดและจํากดั ขนาด(Compressor&Limiter)สําหรับการประกาศ 


136

18.2 สรุปวิธีการออกแบบลําโพง

ส่ิงสําคัญที่สุดในการออกแบบระบบเสียงคอื ความสามารถในการแพรก ระจายของเสียงให ครอบคลุมพ้ืนท่ีทุกจุดในหองโดยมีระดับความเขมของเสียงและความชัดเจนท่ีเทากนั เราจะตองให เสียงพูดและ/หรือเสียงเพลงตลอดสเปกตรัมแพรกระจายถึงหูของผูฟงโดยไมผิดเพี้ยนและ มีเสียงท่ีเหมือนจริงเชนเดียวกับแหลงกําเนดิ เสียง

เราคํานวณระดับความดนั เสียงจากทิศทางตรง(Directsound)ท่ีแพรกระจายออกมาจากลําโพง รวมถึงเสียงสะทอนจากกําแพง พ้ืน และ/หรือเพดานท่ีแพรกระจายมาถึงหูของผูฟงกอน แตยังคง ความชัดเจนของการไดยนิ เสียงที่แถบออกเทฟ(Octaveband)ที่สําคัญจากการคํานวณเราจะหาจุด ท่ีมีการครอบคลุมพ้ืนที่ของลําโพงที่เหมาะสมท่ีสุดสําหรับผูฟงที่ความถ่ี 4,000 Hz

ตอมา เราจะคาํ นวณระดับความดันเสยี งท่ีเกิดจากการกองสะทอน (Reverberant sound) เราใช ขอมูลของหองท่ีทราบเกี่ยวกับปริมาตร (Volume) ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time)การดูดซึม(Absorption)มาคํานวณทแ่ี ถบออกเทฟ(Octaveband)ตางๆดังน้ี 125-250-500-1,000-2,000-4,000-8,000 Hz

หลังจากนนั้ เราจะคํานวณความชัดเจนของการไดยนิ เสียง(Intelligibility)และนําคาทคี่ ํานวณไดที่ ความถี่ 1,000 Hz มาตรวจสอบความชัดเจนที่ผูฟงไดย ิน

สรุปวิธีการออกแบบระบบเสียง

1.    เลือกชนิดของลําโพง 


2.    เลือกตําแหนงติดต้ังลําโพงท่ีเหมาะสม 


3.    เลือกตําแหนงในการเล็งมุมของลําโพงท่ีเหมาะสม 


4.    ตรวจสอบการครอบคลุมพื้นที่ของลําโพงท่ีความถ่ี 4,000 Hz 


5.    คํานวณระดับความดันเสยี ง SPLdir ที่จุดที่เราเล็งมุมของลําโพง 


6.    คํานวณระดับความดันเสยี ง SPLdir ท่ีจุด – 6 dB 


7.    เลือกกําลังท่ีตองการปอนใหล ําโพง 


8.    ในหองที่มีความกองสะทอน (Reverberation room) เราจะคํานวณ SPLrev

9.    ตรวจสอบความชัดเจนของการไดยินเสียง (Intelligibility) ดวยคา STI และ % ALcons

137

เราจะคํานวณซ้ําจากขอ 1-7/9 สําหรับลําโพง จุดติดตั้งลาํ โพง จุดในการเล็งมุมของลําโพง สําหรับจุดอ่ืนๆ

เราสามารถสรุปสูตรการคํานวณไดด ังน้ี

Ldir =Ls(SPL1.1)+10logPel–20logr
Ldir =Ls(SPL1.1)+10logPel–LQ–20logr

(ในแนวแกน) (นอกแนวแกน)

__

Lindir =Ls(SPL1.1)+10logPel –LQ +10log(1–α)–20logr __

Lrev =114–10logV+10logT+10log(1–α)+10logΣη[%]Pel

 

138

18.3 ความชัดเจนของการไดย ินเสียงพดู ในโบสถและหองอเนกประสงค

โดยเหตุท่ีผูพดู หรือผูประกาศไมสามารถถายทอดขอมูลขาวสารไปยังผฟู งดวยเสียงของตนเองได เน่ืองจากมีระดับเสียงที่ดังไมพอหรือมีพื้นที่หลายพ้ืนที่ทตี่ องการครอบคลุมจึงมีการลงทุนติดต้ัง ระบบเสียงในสถานท่ีตางๆ โดยใชอุปกรณระบบเสียงเพ่ือขยายเสยี งและสามารถครอบคลุมทุก พื้นที่ท่ีมีผูฟงอยู เพื่อเพิ่มความชัดเจนของการไดยินเสียงพูด (Speech intelligibility) ชวยใหผูฟง เขาใจในขอความท่ีผูพูดหรือผูประกาศตองการสง เราจะติดต้ังระบบเสยี งโดยนําอุปกรณตางๆ เชน ไมโครโฟน เครื่องผสมเสียง เคร่ืองขยายเสียง เครื่องอีควอไลเซอร และลําโพง มาติดต้ังในสถานท่ี น้ันๆ แตในบางกรณี การออกแบบระบบเสียงที่ไมดี ทําใหผลลัพธท่ีออกมาไมสามารถตอบสนอง ตอความตองการของผูใชงานไดหรืออาจจะไดผลลัพธท ี่แยกวาตอนไมไดติดตั้งระบบเสียง

เราจะพจิ ารณาระบบเสียงในโบสถและหองออดิทอเรียมเปนกรณีศกึ ษา โบสถเปนสถานที่มีปญหา เกี่ยวกับระบบเสียงอยูเสมอ เน่ืองจากลักษณะโครงสรางของโบสถสวนใหญจะสูง กวาง และใหญ มีการเลนดนตรีจากเคร่ืองดนตรีประเภทออรแกนผสมกบั การรองผสานเสียงและอะคูสติกของ โบสถมักจะไมเอื้ออํานวยตอ เสียงพูดปญหาของเสียงกอ งสะทอน(Reverberation)ในโบสถจะทาํ ใหผูฟงไดยินเสียงที่ไมชัดเจน

หากเราเริ่มวิเคราะหเสียงพูดท่ีประกอบดว ยถอยคําตางๆ และถอยคําประกอบดว ยสระและ พยัญชนะ เสียงมีการเปล่ียนแปลงความดังและความทุมแหลม เสียงมีสเปกตรัมของความถี่จาก เสียงทุมที่มีความถี่ตํ่าจนถึงเสียงแหลมที่มคี วามถ่ีสูง

ประโยคของคําพูดมีเสียงสระและเสยีงพยญั ชนะเสียงสระมีสเปกตรัมของความถี่(Frequency spectrum)ตํ่ากวา1,000Hzและมีคุณสมบตั ิของความดัง(Loudness)เนื่องจากเสียงสระเกิดจาก การออกเสียงของปากท่ีมีมุมกวาง จึงทําใหเกิดเสียงกองสะทอน (Reverberation) ตัวอยาง สภาพแวดลอมภายในอาคารเสียงจะสะทอ นจากผิวแข็งเชนผนังเพดานไดงายสวนเสียงพยัญชนะ มีสเปกตรมั ของความถ่ี(Frequencyspectrum)สูงกวา1,000Hzและมีคุณสมบัติของความฟงชัด (Articulation) หรือความชัดเจนในการไดย นิ เสียง (Intelligibility) เน่ืองจากเสียงพยัญชนะเกดิ จาก การออกเสียงของปากที่มีมุมแคบ จึงทําใหเกิดทิศทาง (Direction)

139

ผูฟงควรไดยนิ สเปกตรัมของเสียงพูดท้ังหมดจากผูพูดโดยไมมีการเปล่ียนแปลงแตในความเปนจริง เราไมสามารถกระทําไดเนื่องจากผูฟงมักจะอยูหางจากผพู ูดดังนนั้ เสียงความถี่สูงจะมีการดูดซับ โดยอากาศและเสียงความถต่ี ่ําจะทําใหเกดิ เสียงกองสะทอน(Reverberation)จากการสะทอนจาก ผิวแข็งเชนผนงั เพดานทําใหผูฟงเกิดปญหาในการฟง2ประการคือ

1. การลดลงของสเปกตรัมของเสียงพูดจากเสยี งจากทิศทางตรง
2. การเพิ่มขึ้นของสเปกตรัมของเสียงพูดจากเสียงกองสะทอ น (Reverberation) หรือ เสียงจาก

ทิศทางอื่น

ปญหาดังกลาวทําใหผฟู งไดฟ งเสียงที่ดังแตเสียงกองสะทอน(Reverberation)จะกลบเสียง พยัญชนะท่ีสรางความฟงชัด (Articulation) ทําใหความชดั เจนในการไดย ินเสียง (Intelligibility) ตํ่า หรือหากพจิ ารณาในดานเทคนิคแลว ดัชนีการสงผานของเสียงพูด (Speech transmission index) หรือ STI มีคาต่ํานั่นเอง

18.3.1 โบสถขนาดเล็กที่มีเสียงกองสะทอนต่ํา(Smallreverberanttraditionalchurchbuilding) สําหรับการติดตั้งระบบเสียงที่ตองการเพ่ิมความชัดเจนในการไดย ินเสยี งพูด (Speech intelligibility) เราควรจะถายทอดเสียงพูดทคี่ วามถี่กลางและความถ่ีสูง(เหนือความถ่ี1,000Hz)เนื่องจาก เสียงกองสะทอ น(Reverberation)เกิดจากความถ่ีตํ่าลําโพงที่จะนํามาใชจึงควรจะเปน ลําโพง ประเภทซาวดค อลัมน ลําโพงซาวดคอลัมนเปนตูลําโพงยาวในแนวตั้งที่ประกอบดว ยกลุมลําโพง ลํา (Beam) ของเสียงในแนวนอน (Horizontal) มีมุมเปด (Opening angle) ท่ีกวาง ทําใหเหมาะกับ การถายทอดเสียงพูดในความถี่กลางและความถ่ีสูง สวนลํา (Beam) ของเสียงในแนวต้ัง (Vertical) มี มุมเปดที่แคบกวา จะลดการเกิดเสียงกองสะทอน (Reverberation) ที่ไมตองการ เราจะติดต้ังลําโพง ซาวดคอลัมนที่ดานขางของผูพูดทั้ง2ขางและเล็งมุมใหต รงแนวกับผูฟงโดยใหมีการสะทอนกลับ ของเสียงจากผนังหรือเพดานนอย

18.3.2 โบสถขนาดใหญท่ีมีเสียงกอ งสะทอนสูง(Largereverberantmonumentalcathedral) เราสามารถนําวิธีการออกแบบระบบเสียงทใ่ี ชในโบสถขนาดเล็กมาใชใ นโบสถขนาดใหญได แต เนื่องจากโบสถขนาดใหญมคี วามยาวมากกวาเราจึงตองติดตั้งลําโพงประเภทซาวดคอลัมนจํานวน มากข้ึนโดยตดิ ตั้งตามเสาหรือผนังของโบสถเพ่ือเพ่ิมสเปกตรัมของเสียงพูดจากเสียงจาก ทิศทางตรง แตการติดต้ังลําโพงหลายๆ ตวั ดังกลาว จะสรางปญหาของเวลาของการเดินทางของ เสียงเราสามารถแกไขปญหาดังกลาวไดโดยทําใหเสียงท่ีกระจายออกจากลําโพงแตล ะตัวหรือ แตละกลุมประวิงเวลา(Timedelay)โดยใชเครื่องไทมด ีเลย(Timedelayequipment)ชวย

 

140

18.3.3 หองออดิทอเรยี มขนาดเล็กทมี่ ีเพดานต่ํา (Small low ceiling auditorium) การติดต้ังระบบเสียงในหองออดิทอเรียมขนาดเล็กท่ีมีเพดานต่ํา สวนใหญแลวมักจะไมมีปญหา เก่ียวกับเสยี งกอ งสะทอน (Reverberation) แตเน่ืองจากลักษณะการดูดซึมเสียงของหอง ความดัง ของเสียงจึงมีระดับตํ่าทําใหตอ งการการขยายเสียงชว ย เราสามารถขยายเสียงไดโดยการติดตั้ง ลําโพงซาวดคอลัมน และ/หรือ ลําโพงติดเพดาน ครอบคลุมพื้นที่ของผูฟงท้ังหมด หากเราตองการ เสียงเพลงหรือเสียงดนตรีกส็ามารถนําลําโพงตูแบบ2ทางมาติดต้ังทางดานหนาของเวทีเพื่อชวย ระบบเสียงดานความถ่ีตํ่า เราสามารถนําเสียงพูดจากไมโครโฟน และเสียงเพลงจากเครื่องเลนเทป คาสเซ็ต หรือเคร่ืองเลนซีดี มารวมสัญญาณท่ีเคร่ืองผสมเสียง (Mixing desk) แลวสงสัญญาณไปยงั เคร่ืองขยายเสยี ง นอกจากน้ี เรายังสามารถนําสัญญาณดังกลาวมาใชก ับระบบวงรอบเหน่ียวนํา (Inductiveloop)ท่ีใชแปลงสัญญาณไฟฟาเปนสนามแมเหล็กและใชเคร่ืองชวยหฟู ง(Hearingaids receiver) ชวยรับเสียงในระดับที่พอเหมาะสําหรับผูฟงที่มีปญหาในการฟง โดยไมรบกวนตอ ระบบเสียงสําหรับผูฟงท่ัวไป

18.3.4หองออดิทอเรยีมขนาดใหญท่ีมีเพดานสูง(Largehighceilingauditorium) เราสามารถนําวิธีการออกแบบระบบเสียงทใี่ ชในหองออดิทอเรียมขนาดเล็กมาใชในหอง ออดิทอเรียมขนาดใหญได แตเราอาจจะตองเพิ่มจํานวนของลําโพงตูแบบฟูลเรนจ (Full range loudspeaker) ท่ีมีกําลังสูง เพ่ือใหผูฟงไดฟ ง เสียงจากทิศทางตรง (Direct sound) ดวยระดับความ แตกตางที่นอย(เชน5dB)เราสามารถจัดรวมกลุมลําโพงตูหลายๆตูเปน กลุมลําโพงเดียวประเภท ของลําโพงท่ีมีเหมาะสมท่ีสดุ สําหรับกรณนี ้ีคือตูลําโพงท่ีมีสภาพทิศทางคงที่(Constantdirectivity) และมีมุมเปด เดียวทกุ ความถี่

การติดตั้งตูลําโพงตลอดท่ัวทั้งหองพื่อครอบคลุมพ้ืนที่ของผูฟงก็เปนวธิ ีการติดต้ังอีกวิธีหน่ึงแต การติดต้ังลําโพงหลายๆตัวดังกลาวจะทําใหปญหาของเวลาของการเดนิ ทางของเสียงปรากฏขึ้น เราสามารถแกไขปญหาดังกลาวไดโดยทําใหเสียงทกี่ ระจายออกจากลาํ โพงแตละตวั หรือแตละกลมุ ประวิงเวลา (Time delay) โดยใชเครื่องไทมดีเลย (Time delay equipment) ชวย แตใ นกรณีที่มี การใชเคร่ืองทีวีมอนิเตอร(TVmonitor)ควบคูกับระบบเสียงเราจะตองใหปากผูพดู มีความสัมพันธ กับเสียงที่พูดออกมา เราก็อาจจะไมจ ําเปนตองใชเครื่องไทมดีเลย (Time delay equipment)

 

141

18.3.5 หองออดิทอเรยีมขนาดกวางที่มีเพดานต่ํา(Widelowceilingauditorium) การติดตั้งกลุมลําโพงหนาเวทีท่ีตําแหนงสงู ๆ อาจจะไมไดผลที่ดีจริง เราอาจจะตองใชลําโพง ติดเพดานแทน เพ่ือใหครอบคลุมพื้นที่ของผูฟงไดท้ังหมด อีกทั้งลําโพงติดเพดานยงั ใหเสียงจาก ทิศทางตรงที่มีความชัดเจนในการไดย ินเสยี ง (Intelligibility) ที่ดี แตการเดินทางของเสียงจากทาง ดานบนอาจใหความรูสึกในการฟงเสียงท่ีแปลกเม่ือเทยี บกับภาพที่ผฟู งเห็นบนเวที การใช เคร่ืองไทมดีเลย(Timedelayequipment)กับกลุมลําโพงติดเพดานจะสามารถชวยแกป ญหาน้ีได

หากเราตองการเสียงเพลงหรอื เสียงดนตรี กส็ ามารถนําลําโพงตูแบบฟูลเรนจ (Full range loudspeaker) ติดตั้งทางดานหนาเวที เพื่อชว ยระบบเสียงดานความถ่ีต่ํา ลําโพงติดเพดานจะชว ย ระบบเสียงดานความถี่กลางและความถี่สูง ท่ีใหความชดั เจนในการไดย นิ เสียง (Intelligibility)

18.3.6 ระบบเสียงท้ังหมดสําหรับโบสถ(Thetotalsoundsystemchainforchurch) ระบบเสียงที่ใชในโบสถจะมีการใชงานอปุ กรณตางๆในระบบดังน้ี

1.    ไมโครโฟน (Microphone) เปนอุปกรณรับเสียงจากผูพดู เชน พระสงฆ นักรอง เพลงสวดเครอ่ืงดนตรีและผูเขารวมพิธีไมโครโฟนท่ีใชอาจจะเปน แบบรับสัญญาณ ทิศทางเดียว(Directionalmicrophone)ท่ีตดิ ตั้งบนขาต้ังหรือแบบรับสัญญาณ รอบทิศทาง (Omnidirectional microphone) ที่ใชหอยคอหรือหนีบเส้ือ (Lavalier หรือ Lapel)หากผูพูดตองการการเคลื่อนที่อยางอิสระโดยไมต องคํานึงถึงเรื่องสาย ไมโครโฟน การใชงานไมโครโฟนแบบไรสายที่มีเคร่ืองสงและเคร่ืองรับ (Transmitter and Receiver) โดยใชคล่ืนความถี่ FM ก็จะมีความสะดวกในการใชงาน 


2.    เคร่ืองผสมเสียง (Mixing consoles) เปนเครอ่ื งควบคุมระบบเสียง โดยรบั สัญญาณจาก ไมโครโฟน เครื่องเลนเทปคาสเซ็ต (Cassette tape player) อุปกรณดนตรีตางๆ เชน ออรแกน กีตาร แลวผสมสัญญาณตางๆ กอนที่จะสงตอไปยังเคร่ืองขยายภาคกําลงั (Power amplifier) เครื่องบันทึกเทปคาสเซ็ท (Cassette tape recorder) และ/หรือ ลําโพง มอนเิ ตอร (Monitor loudspeaker) วิศวกรระบบเสียงหรือผูควบคุมเสียงจะควบคุมเสยี ง ประเภทตางๆใหเขากับสภาพแวดลอมของหองและจดุ ท่ีควรจะวางเคร่ืองผสมเสียง คือตรงกลางหอง 


 

142

3.    เคร่ืองอีควอไลเซอร (Equaliser) เปนอุปกรณท่ีใชควบคมุ ความถ่ีทั้งสเปกตรัม (Spectrum) และชวยปรับผลตอบสนองความถี่ของลําโพงใหเหมาะสม เคร่ืองอีควอไลเซอรจะปรับเทา (Equalise) ใหกับระบบเสียงท้ังหมดตงั้ แตไมโครโฟน จนกระทั่งถึงหูของผูฟงและสามารถแกปญ หาการปอนกลับของเสียง(Acoustic feedback)หรือเสียงหอน(Howl)โดยลดระดับสัญญาณของความถท่ี ่ีทําใหเกิดปญ หา 


4.    เคร่ืองขยายเสยี ง(Amplifier) เปนอุปกรณทใี่ ชขยายสัญญาณจากเครื่องผสมเสียง (Mixing consoles) กอนสงสัญญาณที่ไดข ยายแลว ไปยงั ลําโพงแบบ 100 หรือ 70 โวลตไลนหรอื ลําโพงแบบอิมพีแดนซ(Impedance)ต่ําเชน4หรือ8โอหมเราจะตอ ง ใหอิมพแี ดนซ(Impedance)ของลําโพงแมตช(Match)กบั อิมพีแดนซ(Impedance) ของเคร่ืองขยายเสียง และควรใหกําลังขยายของเคร่ืองขยายเสียงนอยกวากําลังที่ สามารถรับได (PHC) ของลําโพง เพื่อปองกันลําโพงไมไดรับความเสียหายจาก เครื่องขยายเสยี งท่ีใหโหลดเกิน (Overload) 


5.    ลําโพง(Loudspeaker)ที่ใชควรเปนแบบลําโพงประเภทลาํโพงซาวดคอลัมนที่เหมาะ กับการถายทอดเสียงพูด ลํา (Beam) ของเสียงในแนวตั้ง (Vertical) มีมุมเปดท่ีแคบกวา จนลดการเกิดเสียงกองสะทอ น(Reverberation)หากเราตองการเสียงเพลงหรือ เสียงดนตรี กส็ ามารถนําลําโพงตูแบบฟูลเรนจ (Full range loudspeaker) ติดตั้งทางดา น หนาเวที 


18.3.7 การทํานายและคาํนวณคุณสมบัติของระบบเสียงในโบสถ(Predicting&calculatingthe performance of the church system

เราสามารถทํานายและคาดหวังคุณสมบัติของระบบเสียงท่ีติดต้ัง ไดจากการคํานวณระดับ ความดันเสยี งจากทิศทางตรง (Direct sound) ท่ีแพรกระจายออกมาจากลําโพง รวมถึงเสียงสะทอน จากกําแพงพนื้ และ/หรือเพดานโดยคํานวณทแี่ ถบออกเทฟ(Octaveband)ตางๆ(125-250-500- 1,000-2,000-4,000-8,000Hz)จากนนั้ เราจะคํานวณความชัดเจนของการไดยินเสียง(Intelligibility) ของระบบ

การใชซอฟตแวรประยกุ ตEASE(ElectroAcousticSimulatorforEngineer)ที่จัดจําหนายโดย แรงคัสไฮนซ(RenkusHeinz)เพ่ือคํานวณและวิเคราะหจะชวยผูออกแบบประหยดั เวลาไดมาก ซอฟตแวรประยุกต EASE จะใหเ ห็นภาพของพื้นท่ีของผูฟง พรอมกับเสนกราฟจากการคํานวณ โดยแสดงการครอบคลุมพื้นท่ี (Coverage, SPLdir) ความดัง (Loudness, SPLtot) ความชัดถอยชัดคาํ (Clarity, dB) ความชัดเจนของการไดยนิ เสียง (Intelligibility, STI) เวลาการถึง (Arrival times, ms) และอ่ืนๆ

3.                              

143

18.4 การคํานวณระบบ

18.4.1 การคํานวณระบบเสียงในหองที่มีเพดานสูงเชนหองแสดงนิทรรศการขนาดใหญ (Large exhibition hall)

    

รูปที่ 86 การติดต้ังลําโพงสําหรับระบบเสียงในหองที่มีเพดานสูง

หองมีปริมาตร 172x72x15.25 m3
ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) RT60 = 2.5 s เสียงรบกวนจากสภาพแวดลอ มโดยรอบ(Ambientnoise)=70dB(SPL) ตําแหนงตดิ ตั้งลําโพงสูงจากพ้ืน15เมตร
จํานวนลําโพง : 3 แถว แถวละ 7 ตัว = 21 ตัว

คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพง
กําลังท่ีลําโพงสามารถรับได (Power handling capacity) หรือ PHC = 50 วัตต ความไว (Sensitivity) = 89 dB (SPL)
ประสิทธิภาพ (Efficiency) = 0.32 %
การกระจายตามความถ่ี (Dispersion) = 110°

จงหาคาความชัดเจนของการไดยินเสยี ง (Intelligibility) ดวยคา ALcons และ/หรือ RASTI 144

ขั้นตอนการคํานวณ
Ldir =89+10log50–20log(15-1.5) ผลจากระดับเสียงของลําโพงขางเคียง (ประมาณ) Ldir(tot) = ผลรวมของ 83.4 dB และ 77 dB

ขอมูลของหอง
ปริมาตร(Volume)
พ้ืนที่ผิว(Surface)
α =V/6Tx1/S
1-α =1-0.38 =0.62
Lrev =114–10logV+10logT+10log(1–α)+10logΣη[%]Pel

= 114 – 52.76 + 3.98 – 2.08 + 10 log (21x0.32x50) = 88.4 dB (SPL) Lrev– Ldir = 88.4 – 84.3 = 4.1 dB

ALcons = 5.7 % (โปรดดูหวั ขอ 17.1.5)

อัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวน (Signal to noise ratio) = (ผลรวมของ 88.4 dB และ 84.3 dB) – 70 = 20 dB

เราจะไดความชัดเจนของการไดยินเสยี ง(Intelligibility)หรือคาALcons=20%

เราสรุปไดวาระบบเสียงท่ีคํานวณไดย ังไมด ีเทาท่ีควร เราอาจจะตองเลือกลําโพงตัวใหม หรืออาจจะ ตองใชไมโครโฟนประกาศที่มีวงจรจํากัดขนาด(Limiter)ชวยลดคุณสมบัติไดนามกิ (Dynamic behavior) ของการประกาศ อตั ราสวนสัญญาณท่ีไมดีตอเสยี งรบกวนจากสภาพแวดลอมโดยรอบ (Bad signal to ambient noise ratio) จะไมม ีผลตอความชัดเจนของการไดยินเสยี ง (Intelligibility) ตราบใดที่อัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวนมีคาดกี วา15dB

145

=89+17–22.6 =83.4dB(SPL)

= 4 x 71 dB
= 83.4 + 0.9 dB

= 77.0 dB (SPL) = 84.3 dB (SPL)

= 172 x 72 x 15.25
= 32,840 m2 =188,820/(6x2.5x32,840) =0.38

= 188,820 m3

18.4.2 การคํานวณระบบเสียงรีอินฟอรซเมนต(Soundreinforcementsystemcalculation)และ EASE (Electro Acoustic Simulator for Engineer)

    

รูปท่ี 87 รูปรางของหองและการติดต้ังลําโพง

ในหองรูปส่ีเหลี่ยมผืนผา เราควรติดต้ังลําโพงทางดานซายและดานขวาของเวที และเล็งมุมใหตรง แนวกับสวนกลางของหองออดิทอเรียมรปู ท่ี88แสดงลํา(Beam)ของเสียง(3&6dB)จากลําโพง และพ้ืนที่ท่ีครอบคลุม

เราจะใชขอมูลของหองและลาํ โพงท่ีความถี่ 1,000 Hz ดังน้ี หองมีปริมาตร 20x20x10 = 4,000 m3 ระยะเวลาความกองสะทอน (Reverberation time) RT60 = 2.5 s สัมประสิทธ์ิการดูดซึมα =0.2

ระยะทาง 16 เมตร คุณสมบัติทางเทคนิคของลําโพง

กําลังท่ีลําโพงสามารถรับได (Power handling capacity) หรือ PHC = 50 วัตต ความไว (Sensitivity) = 96 dB (SPL)
ประสิทธิภาพ (Efficiency) = 0.32 %

146

    

รูปที่ 88 ลํา (Beam) ของเสียง (3 & 6 dB) จากลําโพง ข้ันตอนการคํานวณสําหรับระดับความดันเสียง (Sound Pressure level) หรือ SPL ที่แตกตางกัน

SPLdir =96+10log50–20log16 =96+17–24 เนื่องจากเสยี งมาจาก 2 ลําโพง = 89 + 3

สําหรับระยะทางครึ่งหน่ึง (+6 dB) และ (-6 dB) นอกแนวแกน (Off axis) เราสมมติวามีระดับความดนั เสียงเทากนั
SPLrev =114–10log4,000+10log2.5+10log0.8+10log2x0.36x50=96.5dB(SPL) Lrev–Ldir =96.5–92 =4.5dB >>T=2.5s>> RASTI=0.60

147

= 89dB(SPL) = 92 dB (SPL)

= 92 dB (SPL)

    

รูปท่ี 89 กราฟของความชัดเจนของการไดย ินเสียงพูด (Speech intelligibility) ดัชนีการสงผานของเสียงพูด (Speech transmission index, STI) และดัชนกี ารสงผานของเสียงพูดแบบเร็ว(Rapidspeechtransmissionindex,RASTI)

การคํานวณทร่ี วดเร็วนี้จะใหผลเฉพาะตําแหนง 2 ตําแหนงในหองท่ีใกลกับกลางเวที เราสามารถ คํานวณซํ้าๆไปยังตําแหนงอน่ื ๆของหองดังนั้นการใชซ อฟตแวรประยุกตEASE(Electro Acoustic Simulator for Engineer) คํานวณและวิเคราะหจ ะชวยประหยดั เวลาไดมาก

148

        

รูปท่ี90ผลจากการใชซอฟตแ วรประยุกตEASEแสดงผลความชัดเจนของการไดยนิ เสียงพูด (Speechintelligibility)ดวยคา STIท่ีความถี่1,000Hz

149

    

19.0 ภาคผนวก (Appendix)

  

19.1 นิยาม (Definitions)

Anechoic room หรือ หองทไี่ มมีเสียงสะทอ น คือ หองทมี่ ีขอบเขตที่สามารถดูดซึมเสียง ท่ีมาตกกระทบตลอดแถบความถ่ีท่ีตองการ จนเราสามารถสรางสนามอิสระที่จําเปนได

Decibel scale หรือ สเกลของเดซิเบล คือสเกลตัวเลขเชิงเสนท่ีใชทดแทนสเกลแบบ ลอการิทึม (Logarithm) ของแอมพลิจูด (Amplitude) เพื่อลดความกวางของคาแอมพลิจูดลงอยูใน ชุดตัวเลขขนาดเล็ก

Directivityfactorหรือตัวประกอบสภาพทิศทางคืออัตราสวนคาเฉล่ียของระดบั ความดัน เสียงยกกําลังสอง (Mean squared sound pressure level) ท่ีวัดในแนวแกนและระยะทางที่กําหนด เทียบกับคาเฉลี่ยของระดับความดันเสยีงยกกําลังสอง(Meansquaredsoundpressurelevel)ที่วัด เฉล่ียในทุกแนว (Nondirectional) ท้ังหมดและท่ีระยะทางเดียวกันและแพรกระจายดว ยกําลังที่ เทากัน

Freefieldหรือสนามอิสระคือสภาพแวดลอมที่มีพื้นที่ผิวที่ไมสะทอ นในยานความถ่ีท่ี ตองการ

Isolation หรือ การแยกโดด คือ ความตานทาน (Resistance) ตอการสงผาน (Transmission) ของเสียงในวสั ดุหรือโครงสราง

Pink noise หรือ สัญญาณพิงกนอยส คือ สัญญาณรบกวน (Noise) แบบแถบกวาง (Broadband) ที่มีพลังงานตอแบนดว ิดททคี่ งท่ี (Constant bandwidth) เปนสัดสวนกลบั กับความถ่ี แตมีคาคงท่ีตอแบนดว ิดท (Bandwidth) ของออกเทฟ (Octave) หรือ 1/3 ออกเทฟ (1/3 octave)

Sound Energy หรือ พลังงานเสียง คือ พลงั งานที่มีการสงผาน (Transmission) ของคล่ืน ความดัน(Pressurewave)ในอากาศหรือวสั ดุอื่นๆสวนเสียงที่ไมตองการสวนใหญเราเรียกวา เสียงรบกวน (Noise)

Sound intensity หรือ ความเขมเสียง คือ การสงผาน (Transmission) พลังงานของเสียงตอ หนวยพนื้ ที่และหนว ยเวลาในทิศทางที่กําหนด (Direction)

Sound level หรือ ระดับเสยี ง คือ ระดับความดันเสยี งทว่ี ัดโดยเคร่ืองวดั ระดับของเสยี ง (Soundlevelmeter)หรือSLMและมีการใชขายตวัถวงนํ้าหนกั (Weightingnetwork)แบบใด แบบหน่ึง เชน ถาใชตัวถวงนา้ํ หนัก A (A-weighting) ระดบั เสียง (Sound level) จะใหค า dB (A) หรือ dBA

150

Sound pressure หรือ ความดันเสียง คือ การเปล่ียนแปลงทางไดนามิก (Dynamic) ในความดันบรรยากาศ ในหนวยของ N/m2 หรือ Pascal (Pa) หรือ ความดันท่ีจุดจุดหน่ึงในชองวาง (Space)ลบดวยความดนั สถิตที่จุดน้ัน

Soundpressurelevelหรือระดับความดนั เสียงคือการวัดพื้นฐาน(Fundamental measurement) ของความดันเสียง (Sound pressure) โดยกาํ หนด Lp = 20 log P/P0 dB มาตรฐานของ ความดัน P0 คือ 20 μPa สําหรับการวัดในอากาศ

Standing wave หรือ คลื่นนิ่ง (คลื่นยืน) คือ คล่ืนเปนคาบ (Periodic wave) ที่มีการกระจาย คงท่ีในท่ีวาง ที่เปนผลของการแทรกสอด (Interference) ของคล่ืนแบบรุดหนา (Progressive wave) ของความถี่และคล่ืนชนิดเดียวกัน สามารถแสดงลักษณะโดยการมีอยู (Existence) ของแอมพลิจูดท่ี มีคาสูงสุดและคาตํ่าสุด (Maxima and minima amplitude) ท่ีคงที่ในชองวาง (Space)

Wavelength หรือ ความยาวคล่ืน คือ คาระยะทางของคล่ืนเปนคาบ (Periodic wave) ที่วัด ระหวางจุดแตล ะจุดของแอมพลิจูดท่เีปรียบเทียบได(Comparableamplitude)กับความแตกตางของ เฟส (Phase difference) ใน 1 คาบ (Period)

White noise หรือ ไวตน อยส คือ สัญญาณรบกวน (Noise) แบบแถบกวาง (Broadband) ท่ี มีคาพลังงานคงที่ตอแบนดว ดิ ทที่คงท่ี (Constant bandwidth) แตจะมีการเพ่ิมข้ึน 3 dB ตอการทวีคูณ ของแบนดวิดทท่ีใกลเคียง(Relativebandwidth)ที่จะเปนออกเทฟ(Octave)1/3ออกเทฟ
(1/3 octave) หรือ เดคเคด (Decade)

151

19.2 สัญลักษณและหนวย (Symbols & units)

สัญลักษณ Symbol

หนวย Unit

ปริมาณ Quantity

หมายเหตุ Remarks

V

m3

Room volume ปริมาตรของหอง

 

S

m2

Room surface พื้นที่ผิวของหอ ง

 

A

m2

Absorption การดูดซึม

 

T

S

Reverberation time ระยะเวลาความกองสะทอน

T ≈ 0.161 V/A

α

-

Absorption coefficient สัมประสิทธิ์การดูดซึม

 

m

m-1

Air Absorption constant คาคงตัวการดดู ซึมของอากาศ

m = m (f,ψ,Tr)

f

Hz

Frequency or Center frequency of band ความถี่หรือความถี่กลางของแถบ

 

ψ

%

Relative humidity ความชื้นสัมพทั ธ

 

Tr

K

Room temperature อุณหภูมิหอง

273.13K = 0°C

c

m/s

Sound velocity ความเร็วเสยี ง

c ≈ 344 m/s (air, 20°C)

ρ

kg/ m3

Specific density ความหนาแนน จําเพาะ

ρ ≈ 1.21 kg/m3 (air, 20°C)

w

J/ m3

Energy density ความหนาแนน พลังงาน

 

l

W/ m2

Sound intensity ความเขมเสียง

 

152

สัญลักษณ Symbol

หนวย Unit

ปริมาณ Quantity

หมายเหตุ Remarks

p

Pa

Sound pressure ความดันเสยี ง

1Pa=1N/m2 ≈ 94dB(SPL)

pdir

Pa

Direct sound pressure ความดันเสยี งจากทิศทางตรง

 

pdiff

Pa

Diffuse sound pressure ความดันเสยี งแพรซึม

 

pref

Pa

Reference pressure ความดันมาตรฐาน

pref 20 μPa

ps

Pa

Characteristic sensitivity คุณลักษณะความไว

 

Lp

dB (SPL)

Sound pressure level ระดับความดนั เสียง

Lp = 20 log (p/pref)

Ldir

dB (SPL)

Direct sound level ระดับเสียงจากทิศทางตรง

 

Ldiff

dB (SPL)

Diffuse sound level ระดับเสียงแพรซึม

 

Ls

dB (SPL)

Characteristic sensitivity level ระดับคุณลักษณะความไว

Ls 20 log (ps/pref)

LQ

dB

Off axis level difference ความแตกตางของระดับนอกแนวแกน

ดูแผนภาพโพลาร (Polar diagram) ของลําโพง

Γ(θ,φ)

-

Directivity function ฟงชันสภาพทศิ ทาง

Γ(θ,φ) = p(r,θ,φ)/p(r)

θ,φ

-

Angles with reference axis มุมกับแนวแกนมาตรฐาน

Γ(θ,φ =0) = Γ(max) = 1

Pel

W

Electrical power กําลังไฟฟา

กําลังที่ใชไป (Consumption)

Pac

W

Acoustical power กําลังเสียง

การแพรกระจาย (Radiation)

153

สัญลักษณ Symbol

หนวย Unit

ปริมาณ Quantity

หมายเหตุ Remarks

η

-

Efficiency ประสิทธิภาพ

η= Pac / Pel

Q

-

Directivity factor ตัวประกอบสภาพทิศทาง

Q = Imax /Iav Iav = Pac / 4pr2

D

dB

Directivity index ดัชนีสภาพทิศทาง

D=10logQ

r

m

Distance to source ระยะทางถึงแหลงกําเนิด

 

%ALcons

%

Loss of consonants การสูญเสียเสียงพยัญชนะ

การสูญเสียความฟงชัด (Articulation loss)

STI

-

Speech transmission index ดัชนีการสงผานของเสียงพูด

IEC Norm

 

-

RASTI = 0.9482-0.1845 ln (ALcons) ดัชนีการสงผานของเสียงพูดแบบเร็ว (Rapid speech transmission index)

 

(Farrel Becker)

ts

s

Splittime เวลาแยก

ชองเวลาของเสียงที่มี ประโยชน (Time window useful sound)

154

Sound velocity หรือ ความเรว็ เสียง __

19.3 สูตร (Formulas)

c=20.1√Tr ≈344m/s(air,293K=20°C) Reverberation time หรือ ระยะเวลาความกองสะทอน

T = 24 ln 10xV/cA ≈ 0.161V/A Absorption หรือ การดูดซึม

Sabine:A=4mV+αS

Eyring:A=4mV–Sln(1–α)≈4mV+S[α+α2/2+α3/3+...] Air absorption constant หรือ คาคงตัวการดูดซึมของอากาศ

ประมาณโดย m ≈ 1.7 x 10-8f2/ψ

สําหรับ Tr = 20°C และความชื้นสัมพัทธ ψ เปน % Characteristic sensitivity หรือ คุณลักษณะความไว

ps = pdir สําหรับ Pel = 1W, r = 1m, Γ = 1 (ในแนวแกน) ; Characteristicsensitivitylevelหรือระดบั คุณลักษณะความไว

Ls 20 log (ps/pref)
Energy density หรือ ความหนาแนนพลังงาน

w = p2/ρc2Sound intensity หรือ ความเขมเสียง

_____ ps = √(ρcη/4π)

I=pv ;I=wc=p2/ρc Directsoundpressureandlevelหรือความดันและระดบั เสียงจากทิศทางตรง

pdir2 = ρcQP/(4pr2)
pdir2 = ρcPacΓ2/ (4pr2 ) = ps2PelΓ2/r2
Ldir =Ls +10log(Pel)–20logr+20logΓ

Diffuse sound pressure and level หรือ ความดันและระดับเสียงแพรซึม
pdiff 2 = 4ρcPac(1 –α)/A = 25ρcPacT(1 –α)/V = 25ρcηPelT(1 –α)/V Ldiff = 10 log (pdir2/ pref2)

โดยท่ี

= 10 log (25ρc/ pref2) + 10 log (PacT (1 –α)/V) = 134 + 10 log (ηPelT (1 –α)/V)
= 120 + 10 log (25PacT (1 –α)/V)

10 log (25ρc/ pref2) ≈ 134 ; 10 log (ρc/ pref2) ≈ 120 155

Total sound หรือ เสียงท้ังหมด Ltot = 10 log (ptot2/pref2)

≈ Lp + 10 log [Γ2/(4πr2) + 4(1 –α)/A]
โดยท่ี pref2 /ρc ≈ Pref ; Lp = 10 log (Pac/Pref) ; Pref 1.10-12 (W) Reverberation radius หรือ รัศมีความกองสะทอน

wdir (rg)  wdiff
rg 2 = QA/(16π(1 –α)) = (6 ln 10/4πc)QV/((1 –α)T) ≈ 3.20 x 10-3 QV/((1 –α)T)

______________ rg ≈ 0.057 √ QV/(1 –α)T

Direct to reverberation ratio หรือ อัตราสวนเสียงจากทิศทางทางตรงตอความกองสะทอน D/R = wdir / wdiff = pdir2/ pdiff2 = rg 2/r2

Loss of consonants หรือ การสูญเสียเสียงพยัญชนะ Alcons = 200 r2T2/V ≤ 9T (Peutz)

Alcons = 0.90 T pdiff2/ pdir2 ≤ 9T (%)
Average frequency spacing of adjacing maxima หรือ ชองวางความถี่เฉลี่ยของจุดสูงสุด ท่ีอยูใกลชิดกนั

∆fmax ≈ 4/T (Kuttruff, p.70)
Level difference (between most probable maximum and mean value) หรือ ความแตกตาง ระดับ(ระหวางคาสูงสุดท่ีเปนไปไดก ับคาเฉลี่ย)

∆L = 10 log (ln(BT)) (Kuttruff, p.71)

156

ขอมูลและกราฟท่ีเปนประโยชน

     

157

     

158

School of Acoustics and Electronic Engineering, University of Salford Level3 Module AGA03304 Electroacoustic System Design: Intelligibility

 

159

          

MATERIAL 125 250 500 1000 2000 4000 8000Hz DESCRIPTION IN DETAIL

  

ABS BLOCK AC PLASTER ACDECK 2.50 ACOUSTILE BAFFLE1 BAFFLE2 BREEZE B-R BREEZE B-S BRICKS C BRICKS CC BRICKS CCP CARPT COMM CARPT HVY CARPT INOT CARPT LPAD CARPT PAD CELOTEX CHAIRS LUX CHAIRS LTH CHAIRS WD CHPBRD 8MM CHPBRD16MM CHPBRD25MM CINDBLK R CINDBLK S CIRRUS CIRRUS 75 COLORSON1 COLORSON2 CONCRETE R CONCRETE S CORTEGA DOOR

DOOR 2 DRAPE MED DRAPE THIN DRAPE THK

ELASCON

FIB/BD AIR FIB/BD PTD FIB/BD UP FIB/GLS l” FIB/GLS 2” FIB/GLS1”A FIB/GLS2”A FIB/GLS4”A FLEXBOARD FLOOR CONC FLOOR TILE FLOORS 1 FLOORS 2 FLOORS 3 FLOORS 4 FOAM 2” FOAM 3” FOAM 4”

GLASS 1 GLASS 2 GLS/WL l” GLS/WL 2”

.19 .64 .73 .32 .32 .52 .54 .97 1.00 .26 .57 .63 .19 .32 .64 .23 .60 1.00 .15 .40 .60 .14 .20 .24 .16 .13 .15 .02 .03 .03 .01 .01 .02 .03 .05 .09 .02 .06 .14 .01 .05 .10 .08 .27 .39 .08 .24 .57 .07 .15 .15 .19 .37 .56 .44 .54 .60 .15 .19 .22 .25 .30 .04 .25 .07 .02 .20 .05 .02 .15 .40 .60 .14 .20 .24 .35 .29 .52 .36 .38 .67 .11 .30 .77 .46 1.00 1.00 .02 .03 .03 .01 .01 .02 .31 .32 .51 .15 .10 .06 .15 .11 .10 .05 .07 .13 .04 .05 .11 .05 .12 .35

.37 .73 .99

.30 .00 .15 .05 .10 .10 .05 .10 .15 .07 .23 .42 .19 .51 .79 .09 .25 .60 .20 .56 .89 .39 .91 .99 .18 .11 .09 .04 .04 .15 .02 .03 .03 .01 .01 .01 .02 .03 .03 .15 .11 .10 .04 .04 .07 .08 .25 .61 .14 .43 .98 .20 .70 1.00

.18 .06 .04 .35 .25 .18 .15 .35 .70 .35 .70 .90

.62 .20 .8l .88 .91 .55 .96 .44 .80 .75 1.00 1.00 .60 .60 .30 .41 .11 .13 .04 .05 .02 .02 .23 .38 .37 .60 .20 .48 .34 .48 .69 .71 .15 .15 .67 .61 .62 .58 .39 .38 .04 .04 .02 .02 .02 .02 .60 .60 .30 .41 .79 .92 .89 .97 1.00 1.00 1.00 1.00 .03 .04 .02 .02 .72 .74 .08 .10 .07 .06 .22 .32 .18 .30 .45 .35

.95 .67

.00 .10 .10 .10 .25 .30 .77 .73 .92 .52 .81 .75 .93 .84 .98 .93 .07 .03 .30 .50 .03 .03 .02 .02 .03 .03 .07 .06 .06 .06 .92 .95 1.00 1.00 1.00 1.00

.03 .02 .12 .07 .85 .90 .90 .95

.14 .10 .84 .84 .31 .31 .56 .56 .56 .56 1.00 1.00 .60 .60 .40 .50 .14 .15 .07 .07 .03 .03 .54 .71 .65 .70 .65 .80 .63 .63 .73 .75 .11 .10 .59 .59 .50 .45 .30 .30 .04 .04 .02 .02 .02 .02 .60 .60 .40 .50 .97 .96 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .07 .08 .05 .06 .77 .79 .05 .02 .07 .07 .35 .39 .35 .38 .36 .39

.60 .50

.00 .10 .10 .15 .30 .30 .70 .70 .78 .78 .74 .74 .80 .80 .88 .88 .03 .03 .60 .60 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .07 .07 .07 .07 .92 .92 1.00 1.00 1.00 1.00

.02 .02 .09 .09 .90 .90 .90 .90

GLZD TILE RAND PERF 8”x16” TILES/GLS l/2” Thick Zonolite
2” THK ACOUS DECK 16GA PERF STL DECK SUFACE TILE GLAZED/PERFORATED (AIR) l.5”X1.5#W/2MIL PLAS COV PER SIDE l”Xl.5# W/FABRIC COVER

Breeze blocks rough
Breeze blocks smooth
Bricks clay
Bricks compressed clay
Unglazed bricks painted
Commercial grade carpet
Heavy carpet on concrete
Indoor-outdoor carpet
LATEX BACKING ON 40 OZ HAIRFELT
ON 40 OZ HAIRFELT OR FOAM RUBBER 1” THK AP INSULATION W/FOIL SURFACE FAB.WELL UPOLST. SEATS UNOCCUP LEATHER UPOLST SEATS UNOCCUP CHAIR METAL OR WOOD UNOCCUP

Chip board 8mm on 3cm air
Chip board 16mm on 3cm air
Chip board 25mm on 3cm air
CINDER OR CONCRETE BLOCKS ROUGH CINDER OR CONCRETE BLOCKS SMOOTH CIRRUS ceiling material armstrong

CIRRUS 75 ceiling material arrmstrong 1”THK #6 core fabric covered panel 2”THK #6 core fabric covered panel Concrete wall or floor (Rough) Concrete wall or floor (Smooth) CORTEGA ceiling material armstrong Door

Door 1 3⁄4”SOLID CORE WOOD Draperies medium
Draperies thin
Draperies

Elascon

l/2” MOIJITTED OVER l” AIR SPACE
l/2” MNT SOLID BCK SOME PAINTED
l/2” MOUNTED/SOLID BACKING UNPAINTED AF 100 l” MOUNTING 4
AF 100 2”MOUNTING 4
AF 530 l” MOUNTING 4
AF 530 2” MOUNTING 4
AF 530 4” MOIJITTING 4
3/16” ASBESTOS MNT OVER 2” AIR SPACE Concrete floor with thin carpet
LINOLEUM ASPHALT RUBBER CORK TILE CONCRETE OR TERRAZZO
LINOLEUM ASPHALT RUBBER CORK TILE WOOD
WOOD PARQUET IN ASPHALT ON CONCRETE SONEX 2” THICK ON FLOOR
SONEX 3” THICK ON FLOOR
SONEX 4” ON FLOOR

LARGE PANES HEAVY GLASS
ORDINARY WINDOW GLASS
l” MNT/SOLID BACKING COVERED/FABRIC MNT l” AIR SPACE OPEN WEAVE

20.0ตารางสัมประสิทธการดูดซึมของวัสดตุ างๆ

 

160

    

MATERIAL 125 250 500 1000 2000 4000 8000Hz DESCRIPTION IN DETAIL

  

GLASS-ROOF GRA VEL GRASS l” GRASS SPRT GYP 12.5MM GYP 2X 5/8 GYP 9.5MM GYP12.5MMB GYPBRD 1/2 GYPBRD 5/8 GYPSUM BRD HARDBOARD

LAKE/POND LAPENDARY1 LINEAR

MARBLE MASONITE MASONRY PT

NUB CLG l” NUB WALL 1” OMEGA

PARQUET FL PILLOWBAFL PLAST/LTHR PLAST/LTHS PLAST/TILE PLASTERBD1 PLASTERBD2 PLASTERBD3 PLA TGLS1/4 PLYWD 1/2 PLYWD 1/4 PLYWD 2” PLYWD 3/8 PLYWD 6MM POOL/SWIM PUB IN WDP PUBLIC TKC PUBLIC TNC PUBLIC WC

ROCKWOOL 1 ROCKWOOL 2 ROCKWOOL 3 ROOF AS2 RPG DIFSR1 RPG DIFSR2

SANSERRA T SBV CIRRUS SNDLKCORTG SNOW

SOIL
SONEX 2” SONEX 3” SONEX 4” SPRAY ACOU SS60FR701A SS85CLASSC SS85FR701A STDNTS WC STEEL

.24 .18 .25 .60 .10 .25 .10 .20 .30 .20 .28 .12 .32 .07 .05 .05 .25 .10 .55 .14 .29 .10 .09 .45

.05 .05 1.00 .97 .20 .30

.01 .01 .12 .28 .10 .05

.77 .94 .08 .29 .10 .26

.02 .15 .20 .78 .03 .03 .02 .02 .01 .01 .32 .07 .30 .20 .05 .05 .15 .06 .30 .25 .60 .30 .05 .00 .25 .22 .20 .30 .01 .01 .57 .61 .50 .70 .38 .60 .31 .51

.34 .52 .36 .62 .31 .70 .05 .55 .98 .90 .75 .51

.30 .32 .30 .31 .34 .32 .45 .75 .15 .25 .08 .25 .14 .43 .20 .70 .08 .29 .06 .24 .09 .61 .07 .30 .30 .41 .05 .10

.11 .11 .65 .70 .60 .65 .40 .40 .05 .02 .10 .07 .05 .05 .05 .03 .05 .04 .08 .04 .05 .04 .25 .15

.05 .05 .92 1.00 .40 .50

.01 .01 .19 .18 .06 .07

.75 .98 .68 .92 .72 .82

.10 .08 1.00 1.00 .04 .05 .03 .04 .02 .03 .05 .05 .05 .02 .05 .03 .04 .03 .20 .17 .10 .09 .05 .00 .17 .09 .12 .07 .01 .01 .75 .86 .85 .95 .80 .90 .73 .80

.94 .83 .99 .92 .99 .98 .83 .95 .93 .77 .57 .34

.51 .77 .42 .54 .45 .64 .90 .95 .40 .55 .61 .92 .98 1.00 1.00 1.00 .7S .98 .60 .87 .86 .93 .76 1.00 .49 .84 .10 .10

.11 .11 .11 .75 .50 .70 .80 .90 .60 .40 .50 .40 .02 .02 .02 .13 .09 .10 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .07 .07 .07 .12 .11 .10 .07 .09 .09 .10 .10 .10

.05 .05 .05 1.00 1.00 1.00 .60 .70 .80

.02 .02 .02 .19 .15 .16 .09 .08 .08

1.00 1.00 1.00 .98 .93 .88 .78 .71 .65

.05 .05 .05 1.00 1.00 1.00 .04 .03 .03 .04 .03 .03 .04 .05 .05 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .02 .15 .10 .10 .09 .09 .09 .02 .00 .02 .10 .11 .11 .04 .04 .04 .02 .02 .02 .91 .86 .85 .95 .90 .90 .90 .90 .90 .82 .82 .82

.81 .69 .69 .92 .86 .86 .92 .84 .84 .85 .55 .30 .80 .77 .70 .24 .26 .20

.90 .99 1.00 .64 .66 .68 .71 .76 .83 .95 .95 .90 .60 .60 .45 .95 .92 .92 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .93 .76 .75 .88 .70 .52 .83 .69 .55 1.00 .99 .99 .87 .84 .81 .07 .02 .10

Movable glass roof
GRA VEL LOOSE MOIST 4” HK
GRASS MARION BLUEGRASS 2” HIGH GRASS FOR SPORTFIELDS (SOCCER) Plaster board 12.5mm on 3cm air
Construction #8 2 layer 5/8”
Plaster board 9.5mm on 5cm air
Plaster board 12.5mm on >30cm air
1⁄2” DRYWALL
5/8” THK MOUNTED 16” CNTR WITH GLS l/2” NAILED TO 2X4 16” O.C.
l/8” MOUNTED OVER 2” AIR SPACE

LAKE MODERATLY SMOOTH
2” THK LAPW/PERF PLAS COVER linear Frequency Dependence

GLAZED TILE
l/2” MNT/OVER l” AIR SPACE MASONRY PAINTED

l” NUBBY ceiling material armstrong 1” NUBBY wall materials armstrong Carpet like wall cover for acous tmt

Wooden parquet floor
Pillow-baffle l” thk mounted hanging
ROUGH FINISH ON LATH
SMOOTH FINISH ON LA TH
GYPSUM OR LIME SMOOTH FINISH ON TILE Plaster board 9.5mm on 5cm air
Plaster board 12.5mm on 3cm air
Plaster board 12.5mm on >30cm air
l/4” PLA TE GLASS
l/2” THICK OVR/2”/4” AIR SP.
l/4” MNT/OVR 3” AIR SPACE
2” GLUED TO 2 l/2” PLASTER ON LATH
3/8”
Plywood paneling 6mm on 5cm air
SWIMMING POOL
Congregation in wooden pews
Public on thick upholstered chairs
Public on thin upholstered chairs
Public on wooden chairs

2” THICK MNT/SOLID BCK
MOUNTED OVER l” AIR SPACE MOUNTED OVER 2” AIR SPACE
Delta sorb AS2 on 25 cm space
RPG DIFFUSER UNPAINTED ABSORPTION RPG DIFFUSER PAINTED ABSORPTION

SANSERRA TRAVERTONE
SCORED BEVELED TEGULAR CIRRUS SECOND LOOK CORTEGA CEILING MATERIAL SNOW FRESHLY FALLEN 4” THK
SOIL ROUGH
SONEX 2” THICK ON FLOOR
SONEX 3” THICK ON FLOOR
SONEX 4” ON FLOOR
Sprayed cellulos fiber l” on concrete
SS60 FR701A Wall materials armstrong
SS85 Classic vinyl wall materials
SS85 FR701A Wall materials armstrong
Students in wooden seats
Steel panel or wall or surface

161

    

MATERIAL 125 250 500 1000 2000 4000 8000Hz DESCRIPTION IN DETAIL

  

TBLE TP WD TEG CIRRUS TERRAZZO TILE FLOOR TILE GLAZD TREES TRIBUNE ES TUNDRA l”

ULTIMA UNGL BRICK URETH PANE

VELOUR HVY VELOUR LT VELOUR MED

WATER RVR WATER POOL WINDOW DP WINDOW SP WOOD FLR 1 WOOD FLR 2 WOOD FLR 3 WOOD FLR 4 WOOD FLR 5 WOOD FLR 6 WOOD GRID0 WOOD GRID1 WOOD GRID2 WOOD GRID3 WOOD GRID4 WOOD GRID5 WOOD GRID6 WOOD GRID7 WOOD GRID8 WOOD GRID9 WOOD PANEL WOODPANEL1 WOODPANEL2

MIRROR α=10% α=20% α=30% α=40% α=50% α=60% α=70% α=80% α=90% α = 100%

.15 .11 .10 .33 .33 .55 .01 .01 .01 .02 .03 .03 .01 .01 .01 .03 .06 .11 .06 .06 .06 .70 .92 .75

.32 .34 .71 .01 .01 .02 .07 .11 .20

.14 .35 .55 .03 .04 .11 .07 .31 .49

.05 .05 .05 .01 .01 .01 .25 .10 .07 .33 .25 .10 .20 .15 .10 .20 .15 .08 .20 .15 .15 .02 .03 .04 .15 .11 .10 .04 .04 .07 .10 .36 .99 .01 .05 .08 .02 .28 .80 .10 .10 .15 .60 .80 .85 .60 .80 .80 .60 .70 .70 .44 .90 .80 .07 .46 .37 .10 .14 .56 .30 .25 .20 .20 .12 .10 .10 .10 .10

.10 .05 .00 .10 .10 .10 .20 .20 .20 .30 .30 .30 .40 .40 .40 .50 .50 .50 .60 .60 .60 .70 .70 .70 .80 .80 .80 .90 .90 .90 1.00 1.00 1.00

.07 .06 .07 .07 .74 .86 .92 .94 .02 .02 .02 .02 .03 .03 .02 .02 .01 .02 .02 .02 .17 .27 .31 .15 .12 .12 .09 .08 .99 1.00 .97 .89

.87 .87 .85 .79 .02 .02 .03 .03 .32 .60 .85 .85

.72 .70 .65 .65 .17 .24 .35 .35 .75 .70 .65 .65

.05 .05 .05 .05 .01 .02 .02 .02 .06 .04 .02 .02 .07 .06 .04 .02 .08 .08 .05 .05 .05 .03 .02 .02 .30 .50 .60 .60 .05 .05 .05 .05 .07 .06 .07 .07 .06 .06 .07 .07 .99 .50 .35 .30 .09 .09 .09 .09 .90 .50 .50 .40 .20 .20 .20 .20 .99 .80 .60 .50 .80 .50 .50 .50 .60 .40 .40 .40 .85 .62 .60 .60 .47 .26 .30 .25 .72 .37 .23 .20 .17 .15 .10 .10 .10 .08 .07 .07 .08 .08 .07 .07

.00 .00 .00 .00 .10 .10 .10 .10 .20 .20 .20 .20 .30 .30 .30 .30 .40 .40 .40 .40 .50 .50 .50 .50 .60 .60 .60 .60 .70 .70 .70 .70 .80 .80 .80 .80 .90 .90 .90 .90 1.00 1.00 1.00 1.00

Table top wood
Tegular cirrus ceiling
Concrete or terrazzo
Linoleum asphalt rubber cork tile Glazed tile
Trees firs 20 sq ft grd area pertree Tribune with empty seats (Stadium) 1” open plan tundra ceiling material

Ultima ceiling material armstrong Unglazed brick
1” thk urethane foam panel

Heavy l8oz draped to 1/2 area Light (10 oz) hung touching wall Med. l4oz draped to 1/2 area

Water
Swimming pool
Double pane glass
Single pane glass
Wooden floor on beams
Wooden floor covered with linoleum Wooden floor with thin carpet
Wooden floor or linoleum on concrete Hardwood floor on beams
Wood parquet in asphalt on concrete Wooden grid 90/15mm on 6cm air + gw Wooden grid 35/15mm on 2cm air Wooden grid 35/15mm on 2cm glaswool Wooden grid 35/15mm on 40cm air Wooden grid 35/15mm on 40cm glaswool Wooden grid 60/15mm on 40cm air + gw Wooden grid 120/15mm on 40cm glaswool Wooden grid 90/15mm on 40cm air + gw Wooden grid 90/15mm on 40cm air only Wooden grid 90/15mm on 6cm air only 3/8” to l/2” thick ovr /2”/4” air sp.
Wood panelled wall 16mm on 4cm air Wood panelled wall 18mm on 4cm air

Ideal Sound Reflector 10% Sound absorbing 20% Sound absorbing 30% Sound absorbing 40% Sound absorbing 50% Sound absorbing 60% Sound absorbing 70% Sound absorbing 80% Sound absorbing 90% Sound absorbing 100% Sound absorbing

Atmospheric absorption (m/km) versus Rel. Humidity (acc.Cyril Harris)

Label 125 250

RH=20% 0.10 0.23 RH=40% 0.08 0.18 RH=50% 0.07 0.16 RH=60% 0.07 0.15 RH=80% 0.06 0.14

500 1000

0.56 1.39

0.43 1.06 0.40 0.97 0.37 0.91 0.34 0.82

2000 4000 8000

4.28 14.5 47.1 2.59 7.20 23.7 2.40 6.10 19.2 2.25 5.60 16.2 2.07 5.10 13.3

Description (T=200C)

Air with 20% Rel. Humidity Air with 40% Rel. Humidity Air with 50% Rel. Humidity Air with 60% Rel. Humidity Air with 80% Rel. Humidity

162

    

21.0 ตัวอยางการประยุกตใช (Application Note)

  

1.0 ชุดแปลภาษา 1 ภาษา

ตัวอยางการประยุกตใ ชของระบบเสียงท่ีจะกลาวตอไปนี้ เปนการใชงานสําหรับการแปลภาษา โดยลาม(Simultaneousinterpretationsystem)แบบประหยัดระบบแปลภาษาระบบนี้จะมกี าร แปลภาษาจากภาษาหลกั (Floorlanguage)1ภาษาเราสามารถฟงเสียงภาษาหลกั (Floorlanguage) จากเคร่ืองขยายเสียงและลําโพง และฟงเสยี งภาษาแปลจากเคร่ืองชวยหฟู ง (Hearing aid) เคร่ืองชวยหฟู ง (Hearing aid) ดังกลาวจะมขี ดลวดจับเสยี ง (Listening coil) ที่ทําหนาที่แปลงเสียง จากสนามแมเหล็ก (Magnetic field)

เราสรางสนามแมเหล็กจากการนําเคร่ืองขยายเสียงตอภาคขาออก (Output) กับสายไฟฟาท่ีมี การติดต้ังแบบวนรอบ (Loop) ในตวั หองโดยผานแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ที่เหมาะสมแทนการตอลําโพง กระแสไฟฟา ท่ีไหลในสายไฟฟาจะสรางสนามแมเหล็กใน วงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop)

รูปท่ี 1 ขดลวดจับเสียง (Listening coil)

163

1.1 ท่ัวไป

การออกแบบระบบแปลภาษาโดยลาม(Simultaneousinterpretationsystem)น้ีเราตอ งคํานึงถึง ระบบท่ีสามารถสรางความแรงของสนามแมเหล็ก(Magneticfieldstrength)ท่ีเหมาะสมเพื่อใหก าร รับสัญญาณของขดลวดจับเสียง(Listeningcoil)ของเครื่องชวยหฟู ง(Hearingaid)อยูในเกณฑทดี่ ี การรับสัญญาณของขดลวดจับเสียง (Listening coil) จะขนึ้ กับปจจยั พน้ื ฐาน 4 ประการ ดังนี้

1.    ความเขมของกระแสไฟฟา (Current intensity) ท่ีไหลวนรอบในสายไฟฟาที่มีการวางสาย แบบวนรอบ (Loop) ความเขมของกระแสไฟฟา (Current intensity) จะมีหนวยเปน แอมแปร- เทิรน (Ampere-turns) หรือ แอมแปร-รอบ 


2.    ตําแหนง (Position) ของเครอื่ งชวยหูฟง (Hearing aid) ท่ีข้ึนอยูกับขนาดและลักษณะของ หอง และตําแหนงของผูฟงในหอง 


3.    ทิศทาง (Direction) ของขดลวดจับเสียง (Listening coil) ที่สอดคลองกับทิศทางของ สนามแมเหล็กสนามแมเหลก็ ดังกลาวจะมที ิศทางในแนวต้ังและขนึ้ อยกู ับตําแหนงการวาง สายไฟฟาในหอง และสายไฟฟานจี้ ะทําหนาที่เปนวงรอบเหน่ียวนํา (Inductive loop) เราควรใหขดลวดจับเสียง (Listening coil) ของเคร่ืองชวยหูฟง (Hearing aid) อยูในแนว เดียวกันกับทิศทางของสนามแมเหล็ก นอกจากนี้ เราควรคํานวณใหความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ใหอยูในระดับเดียวกันทวั่ ทั้งหอง แตก็อาจจะมี จุดบอดไดบางในแนวพนื้ ที่ของหองท่ีอยูใกลกับกําแพง 
รูปที่2สนามแมเหล็กของวงรอบเหน่ียวนาํ (Inductiveloop) 


 

164

4. ความไว (Sensitivity) ของขดลวดจับเสียง (Listening coil) ท่ีข้ึนอยูกับชนิดของเครื่องชวย หูฟง (Hearing aid) เครื่องชวยหูฟงแบบติดตัว (Body-worn hearing aid) จะมีความไวใน การรับสัญญาณดีกวาเคร่ืองชวยหูฟงแบบเหน็บหู (Behind-the-ear hearing aid, BTE)

รูปท่ี 3 กราฟแสดงความไว (Sensitivity) ของขดลวดจับเสียง (Listening coil) กับความถ่ี

ความไว (Sensitivity) ของขดลวดจับเสียง (Listening coil) ที่แสดงตามกราฟรูปท่ี 3 สามารถ ใหระดับเสียงที่หูฟง 10 dB ถึง 30 dB ต่ํากวาระดับเสียงที่หูฟงสูงสุด เม่ือความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) มีคา 10 mA/m ท่ีความถ่ี (Frequency) 1,000 Hz

เราสามารถวิเคราะหความไว(Sensitivity)ของขดลวดจบั เสียง(Listeningcoil)ของเคร่ืองชวยหฟู ง (Hearingaid)แบบตางๆไดด ังน้ี

1. เคร่ืองชวยหูฟง แบบเหน็บหู (Behind-the-ear hearing aid, BTE)

ถา เราตองการระดับเสียงทห่ี ฟู งเทากับระดบั เสียงที่สูงสุด เราตองเพ่ิมความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) อีก 30 dB เมื่อความแรงของสนามแมเหล็ก (Magneticfieldstrength)มีคา10mA/mที่ความถ่ี(Frequency)1,000Hzหรือกลาวอกี นัย หนึ่ง เราตองเพิ่มความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ขึ้นอีก 30 เทา หรือ 300 mA/m โดยใชสูตรคํานวณดังน้ี

โดยท่ี

Ratio (in dB) = 20 log I2/I1 I2 =1030/20I1

=30I1
165

2. เคร่ืองชวยหูฟง แบบติดตัว (Body-worn hearing aid)

ถาเราตองการระดับเสียงทห่ี ฟู งเทากับระดบั เสียงท่ีสูงสุดเราตองเพ่ิมความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) อีก 10 dB เม่ือความแรงของสนามแมเหล็ก (Magneticfieldstrength)มีคา10mA/mที่ความถี่(Frequency)1,000Hzหรือกลาวอกี นัย หน่ึง เราตองเพ่ิมความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ข้ึนอีก 3 เทา หรือ 30 mA/m โดยใชสูตรคํานวณดังน้ี

โดยที่

Ratio (in dB) = 20 log I2/I1 I2 =1010/20I1

=3I1

1.2 วิธีการคํานวณและประมาณการความเขมของกระแสไฟฟา(Currentintensity)ใน วงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop)

เราสามารถคํานวณและประมาณการความเขมของกระแสไฟฟา (Current intensity) ได ดังตอไปนี้

1. การวางวงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop) ควรจะเปน ลักษณะส่ีเหลยี่ ม ความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ท่ีจุดใดจุดหน่ึง จะมีคาเทากับผลรวมของ สนามแมเหล็ก ที่เกิดจากกระแสไฟฟาไหลผานสายไฟฟาแตละขางของสี่เหลี่ยมน้ันๆ

รูปท่ี 4 จุดกึ่งกลางในวงรอบเหนี่ยวนํา (Inductive loop)

                

166

2. ความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) เปนสัดสวนผกผนั กับระยะทาง

รูปที่ 5 ความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) กับระยะทาง

3. ในกรณีท่ีเราตอ งการความแรงของสนามแมเหล็ก(Magnetic field strength) เปนจํานวนเทา ของความแรงของสนามแมเหล็ก(Magnetic field strength) ที่เกิดจากกระแสไฟฟาไหลผาน สายไฟฟาของวงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop) เสนเดียว เราก็สามารถกระทําไดโดยเพิ่ม จํานวนรอบของสายไฟฟาในแตละรอบ ใหเทากับจํานวนเทาที่ตองการจากความแรง ของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) น้ันๆ เชน ถา เราตองการความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) เปน 2 เทา เราก็เพียงแตเ พิ่มจํานวนรอบของ สายไฟฟาเปน 2รอบ

รูปท่ี 6 ความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ของวงรอบเหนี่ยวนํา (Inductive loop) 2 รอบ

167

4. ทิศทาง (Direction) ของสนามแมเหล็กท่ีเกดิ จากการไหลของกระแสไฟฟาผานตัวนําไฟฟา จะเปนไปตามกฎมือขวาของฟาราเดย (Faraday’s right hand rule) นั่นคือกระแสไฟฟาที่ ไหลในแนวออกจากตวั ของเรา จะสรางสนามเหล็กในแนวตามเข็มนาฬิกา

รูปที่ 7 ทิศทาง (Direction) ของสนามแมเหล็กจากการไหลของกระแสไฟฟา

5. เน่ืองจากสายไฟฟาไมไดมเี ฉพาะคาความตา นทาน (Resistance) เทาน้ัน แตยังมีคา ความเหนี่ยวนาํ (Inductance)รวมอยูอีกดวยดังนนั้ เม่ือถึงความถี่ความถ่ีหนึ่งสําหรับ สายไฟฟาแกนเด่ียว กระแสไฟฟาและความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength)จะมคี าลดลงความถี่ดังกลาวจะมคี าประมาณ1,500Hzแตสําหรับสายไฟฟา หลายแกน (Multi-core cable) ความถี่ดังกลา วจะมีคาที่ตํา่ กวา 1,500 Hz ในกรณีท่ีเราใช สายไฟฟานอยแกนเราสามารถเพ่ิมแรงดันไฟฟาในชวงความถี่ดังกลาวและความถี่ทม่ี ีคา สูงกวา เพื่อทําใหกระแสไฟฟาและความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) จะมีคาเกือบคงท่ีตลอดยานความถ่ี

รูปท่ี 8 กราฟแสดงคาความตานทาน (Resistance) ท่ีความถี่ 1,500 Hz

168

6.    สําหรับสายไฟฟาแกนเดยี่ วที่เดินสายในแนวตรง เราสามารถคํานวณคาความแรงของ สนามแมเหล็ก(Magnetic field strength) ได โดยอาศัยสูตรดังตอไปน้ี 
H = I/2πS โดยที่ 
H คือ ความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) มีหนวยเปน A/m หรือ Amperes per meter 
I คือ กระแสไฟฟาที่ไหลในสายไฟฟาแกนเดย่ี ว มีหนวยเปน A หรือ Amperes 
Sคือระยะทตี่ องการคํานวณคาความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ในแนววงรอบแกนสายไฟฟาแกนเดยี่ ว มีหนวยเปนmหรอื meter 
รูปท่ี 9 ความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) 


7.    เราควรจะออกแบบการวางสายไฟฟา เพ่ือใหความแรงของสนามแมเหลก็ (Magnetic field strength) สามารถคลอบคลุมพ้ืนท่ีของหองไดทั้งหมด ทาํ ใหผูฟงสามารถรับเสียงจาก เคร่ืองชวยหฟู ง (Hearingaid)ในระดับที่เหมาะสมขอเสนอแนะในการออกแบบสําหรับ หองท่ีสามารถวางสายไฟฟาเปนรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส เราจะคํานวณคาความแรงของ สนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ท่ีจุดก่ึงกลางจากสายไฟฟาทั้ง 4 ดาน แตใ นกรณี ที่เราวางสายไฟฟาเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทมี่ คี าของดานความยาวเปน2เทาของคาของดาน ความกวาง เราจะคํานวณคาความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ที่จดุ กึ่งกลางจากสายไฟฟาเพียง 2 ดานที่อยใู กลกับจุดก่ึงกลางมากที่สุด 


6.                            

169

รูปท่ี 10 การออกแบบการวางสายไฟฟาในหองรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส

รูปที่ 11 การออกแบบการวางสายไฟฟาในหองรูปส่ีเหลี่ยมผืนผา

8.    โดยปกตแิ ลว เราจะออกแบบคาแรงดันไฟฟาสูงสุดของเคร่ืองขยายเสียงท่ีทําใหระดับ ความดังของเครื่องชวยหฟู ง(Hearingaid)เมื่อมีการปรับตัวควบคุมความดัง(Volume control)อยูในระดับสูงสุดแตในการปฏิบตั ิเราควรจะออกแบบคาแรงดันไฟฟาดังกลาว ใหมีคา 5 เทา ต่ํากวาคาแรงดนั ไฟฟาที่ระบไุ วในคุณสมบตั ิทางเทคนิคของเครื่องขยายเสียง 


9.    เราควรจะทดลองวางวงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop) และทดสอบการรับสัญญาณใหอยู ในผลท่ีพอใจกอนการติดตั้งครั้งสุดทายและควรจะมกี ารเผ่ือคาปจจัยความปลอดภยั (Safety factor) ในการคํานวณกระแสไฟฟา ในวงรอบเหน่ียวนํา (Inductive loop) เสมอ 


                            

170

1.3 ตัวอยางวิธีการคํานวณและประมาณการความเขมของกระแสไฟฟา(Currentintensity)ใน วงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop)

1. กรณีที่ไมมกี ารตอลําโพงรวมกับการตอวงรอบเหน่ียวนํา (Inductive loop)

หลักการในการออกแบบคือ เราจะตองหาคา กระแสไฟฟาที่เหมาะสมกบั คาความแรงของ สนามแมเหล็ก(Magneticfieldstrength)ท่ีเครื่องชวยหฟู ง(Hearingaid)แบบที่เราตองการ สามารถรับสัญญาณไดดี และคํานวณหาแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ท่ี เหมาะสมกับเคร่ืองขยายเสียงและสายไฟฟา ตามตัวอยางดังตอไปน้ี

ตัวอยางท่ี 1

หองที่มีขนาด 4 x 7 เมตร เราเลือกใชเคร่ืองชวยหูฟงแบบเหน็บหู (Behind-the-ear hearing aid, BTE) เพื่อที่จะฟงเสียงไดทว่ั ทั้งหอง เราจะพบวาหองดังกลาวมีลักษณะเปนรูปกึ่งสี่เหล่ียมจัตุรัสและ ส่ีเหล่ียมผืนผา ดังนั้น เราจะออกแบบอุปกรณตางๆ โดยอาศัยคาเฉล่ียที่อยูระหวางการคํานวณใน รูปแบบสี่เหล่ียมจัตุรัสที่มีขนาดของดานแตละดานเปน a=4m(การคํานวณที่I)กับการคํานวณใน รูปแบบส่ีเหลี่ยมผืนผาที่มีขนาดของดานความยาวเปน b = 7 m (การคํานวณท่ี II)

การคํานวณท่ี I การคํานวณในรูปแบบส่ีเหล่ียมจัตุรัสท่ีมีขนาดของดานแตละดานเปน a เราใชสูตร

H = I/2πS

เมื่อเราคํานวณจุดกึ่งกลางของส่ีเหลี่ยมจัตุรสั เราจะไดคาS=a/2 สําหรับเครื่องชวยหูฟงแบบเหน็บหู (Behind-the-ear hearing aid, BTE) เราตองการความแรงของ สนามแมเหล็ก(Magneticfieldstrength)ที่เหมาะสมคือ300mA/mหรอื 0.3A/m
ดังนั้น คาความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) สําหรับสายไฟฟาดานเดียว คือ H/4หรือในทนี่ ี้0.3/4A/m
เราจะได

I=Hx2πS I=(0.3/4)x2x3.14x(a/2) =a/4

  

171

การคํานวณที่IIการคํานวณในรูปแบบส่ีเหล่ียมสี่เหล่ียมผืนผาที่มีขนาดของดานความยาวเปน b เราใชสูตร

H = I/2πS

เม่ือเราคํานวณจุดก่ึงกลางของสี่เหล่ียมผืนผา เราจะไดคา S = b/2 สําหรับเคร่ืองชวยหูฟงแบบเหน็บหู (Behind-the-ear hearing aid, BTE) เราตองการความแรงของ สนามแมเหล็ก(Magneticfieldstrength)ท่ีเหมาะสมคือ300mA/mหรอื 0.3A/m
ดังน้ัน คาความแรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) สําหรับสายไฟฟาดานเดียว คือ H/2หรือในทน่ี ี้0.3/2A/m
เราจะได

I=Hx2πS I=(0.3/2)x2x3.14x(b/2) =b/2

ในทํานองเดียวกัน หากเราเลือกใชเคร่ืองชวยหูฟงแบบติดตัว (Body-worn hearing aid) ที่ตองการ กระแสไฟฟาในวงรอบเหนี่ยวนํา (Inductive loop) นอยกวาประมาณ 10 เทา

ดังนั้นในกรณขี องรูปแบบสี่เหล่ียมจัตุรัสI=a/40และในกรณีของรูปแบบสี่เหล่ียมผืนผาI=b/20 เราสามารถสรุปเปนตารางไดดังน้ี

 

เครื่องชวยหฟู ง แบบเหน็บหู (Behind-the-ear hearing aid)

เคร่ืองชวยหฟู ง แบบติดตวั (Body-worn hearing aid)

1. หองรูปแบบส่ีเหลี่ยมผืนผา

I=b/2

I=b/20

2. หองรูปแบบส่ีเหลี่ยมจัตุรสั

I=a/4

I=a/40

คาเฉลี่ย

I=a/3

I=a/30

โดยท่ีaและbมีหนวยเปน m I มีหนว ยเปน Ampere

สําหรับหองท่ีมีรูปรางเปนรูปกึ่งกลางระหวางรูปส่ีเหลี่ยมผืนผากับส่ีเหลี่ยมจัตุรัส เราจะใชคาเฉลี่ย ระหวางขอ 1. กับขอ 2. นอกจากนี้ เรายังพบวาความแรงของสนามแมเหล็กจะถูกรบกวนจากคาน หรือเฟอรนิเจอรท่ีมีเหล็กเปน สวนประกอบ เราจึงควรวางวงรอบเหนย่ี วนํา (Inductive loop) ใหห าง อยางนอย 20 ซม. จากคานหรือเฟอรนิเจอรท ี่มีเหล็กเปนสว นประกอบ

172

สําหรับกรณีตวั อยาง เราสามารถคํานวณ คา กระแสไฟฟา จากการวางสายไฟฟา 1 รอบ และ a คือ ความกวางของหอง (= 4 เมตร) ไดดังน้ี

I=a/3
=4/3 =1.3Ampere-turns

สมมติวา
เราเลือกใชสายไฟฟาขนาด 2 1⁄2 mm2 เพ่ือรองรับกระแสไฟฟาขนาด 1.3 A ความยาวของสายไฟฟาท่ีใช คือ 4+4+7+7 = 22 เมตร
ความตานทาน (Resistance) ของสายไฟฟา R = L/60q = 22/(60x2.5) = 0.15 Ω

โดยท่ี L คือ ความยาวของสายไฟฟา และ q คือ พื้นที่หนา ตัดของสายไฟฟา

เราสามารถคํานวณแรงดนั ไฟฟาท่ีคากระแสไฟฟาขนาด1.3Aผานความตานทานขนาด0.15Ωได โดยใชกฎของโอหม

V=IR =1.3x0.15≈0.2V

เราเลือกใชเครอ่ื งขยายเสียงขนาดกําลัง4วัตตและขั้วตอขาออกตอกับลําโพงแบบ4โอหมคา แรงดันไฟฟาสูงสุดของเคร่ืองขยายเสียง มีคา

___ ___ V=√WR =√4x4=4V

แตโดยปกติแลว เราจะปรับตัวควบคุมความดัง (Volume control) ในระดับท่ีเหมาะสม เชน ประมาณ 1.4 V ดังน้ัน เราเลือกใชแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ที่ลด แรงดันไฟฟา จาก 1.4 V เปน 0.2 V หรือ อัตราสวน 7:1

รูปท่ี 12 แมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) 173

 

จากรูปท่ี 12 เราตอข้ัวตอขาออกของเคร่ืองขยายเสียงที่ขวั้ ปฐมภูมิ (Primary) ของแมตชิง ทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) หรือที่ข้ัว 2 และ 3 และตอสายไฟฟาที่ขวั้ ทตุ ิยภูมิ (Secondary) ของแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) หรือท่ีขั้ว 5 และ 6 ขนานกับข้ัว 8 และ 9 การตอแบบขนานนี้ จะชวยลดความตานทานภายในของแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer)

การตอแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) นี้ เราสามารถคํานวณอัตราสวนได คือ 3:0.4 = 7.5:1

เราคํานวณตรวจสอบคากําลงั ที่ใช (Power consumption) ของเครื่องขยายเสียง ไดดังนี้ W=VxI

=0.2x1.3=2.6W
เราพบวา ทั้งเครื่องขยายเสียงและแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) สามารถทนตอ คากําลังท่ีใช (Power consumption) ได

รูปท่ี 13 การตอแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) 2. กรณีท่ีมีการตอ ลําโพงรวมกบั การตอวงรอบเหนยี่ วนํา (Inductive loop)

ในกรณีนี้ เราจะใชงานระบบเสียงสาธารณะรวมกับใชวงรอบเหน่ียวนํา (Inductive loop) สําหรับผูมี ปญหาดานการฟง หลักการในการออกแบบคือ เราจะตองหาคากระแสไฟฟาท่ีเหมาะสมกับคาความ แรงของสนามแมเหล็ก (Magnetic field strength) ที่เคร่ืองชวยหูฟง (Hearing aid) แบบท่ีเราตองการ สามารถรับสัญญาณไดดแี ละคํานวณหาแมตชิงทรานสฟอรเมอร(Matchingtransformer)ที่ เหมาะสมกับเครื่องขยายเสียงและสายไฟฟา ตามตัวอยางที่1หลังจากทเี่ราไดคาแรงดนั ไฟฟาที่ขวั้

174

ทุติยภูมิ (Secondary) ของแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ที่โดยปกติแลวมักจะมี คานอยมากในการตอลําโพง เราจึงตองเลือกแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) ที่ เหมาะสม ตามตัวอยางดังตอไปน้ี

ตัวอยางท่ี 2

ในหองโถงทมี่ ีขนาด8x20เมตรเราเลือกใชเคร่ืองชวยหูฟงแบบตดิ ตวั (Body-wornhearingaid) เพื่อท่ีจะฟงเสียงไดทว่ั ท้ังหอง เราใชเคร่ืองขยายเสียงขนาดกําลัง 25 วัตต ที่มีแรงดันไฟฟาท่ีขั้วตอ ขาออก 10, 25, 35 และ 100 โวลต และมีการติดต้ังลําโพงขนาดกําลัง 10 วัตต จํานวน 2 ตัว ท่ี ดานหนา ของหองโถง

เราสามารถคํานวณคากระแสไฟฟาจากการวางสายไฟฟา1รอบและaคอื ความกวางของหอง (= 8 เมตร) ไดดังน้ี

I=a/20
= 8/20 = 0.4 Ampere-turns

สมมติวา
เราเลือกใชสายไฟฟาขนาด 2 1⁄2 mm2 เพ่ือรองรับกระแสไฟฟาขนาด 0.4 A ความยาวของสายไฟฟาท่ีใช คือ 8+8+20+20 = 56 เมตร
ความตานทาน (Resistance) ของสายไฟฟา R = L/60q = 56/(60x2.5) = 0.37 Ω

โดยท่ี L คือ ความยาวของสายไฟฟา และ q คือ พื้นท่ีหนา ตัดของสายไฟฟา

เราสามารถคํานวณแรงดนั ไฟฟาท่ีคากระแสไฟฟาขนาด1.3Aผานความตานทานขนาด0.15Ωได โดยใชกฎของโอหม

V=IR =0.4x0.37≈0.15V

แตเรายังมีปญหาอีกปญหาหนึ่ง คือการปอนกลับของเสียง (Feedback) ทําใหเราตองปรับลด ตัวควบคุมความดัง(Volumecontrol)ลงทําใหคาแรงดนั ไฟฟาท่ีขั้วตอขาออกมีคาตํ่ากวา แรงดันไฟฟาที่ระบุ (Nominal voltage) ดังนั้น เราควรตอข้ัวตอขาเขาของลําโพง ที่ข้ัวตอขาออกของ เครื่องขยายเสยี งที่มีคาแรงดนั ไฟฟาตํ่า เชน 10 โวลต และที่ข้ัวตอขาออกน้ี เราสมมติวา แรงดันไฟฟา10โวลตจะลดลงในระดับท่ีเหมาะสมเชน ประมาณ2Vวงรอบเหนยี่วนํา

175

(Inductive loop) ท่ีเราตอกับแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) จะลดแรงดันไฟฟา จาก 2 V เปน 0.15 V หรือ อัตราสวน 12:1

จากรูปท่ี 14 เราตอขั้วตอขาออกของเคร่ืองขยายเสียงที่ขวั้ ปฐมภูมิ (Primary) ของแมตชิง ทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) หรือท่ีขั้ว 1 และ 2 และตอสายไฟฟาที่ขวั้ ทตุ ิยภูมิ (Secondary) ของแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) หรือท่ีขั้ว 5 และ 7 ขนานกับขั้ว 8 และ 10 การตอแบบขนานน้ี จะชว ยลดความตานทานภายในของแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer)

การตอ แมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer) น้ี เราสามารถคํานวณอัตราสวนได คือ 7:0.6 = 12:1

รูปที่ 14 การตอแมตชิงทรานสฟอรเมอร (Matching transformer)

176

หนังสืออางองิ

1.    Van der Meulen, F., 2000 Sound System Reference Manual. Breda : Philips Communications & Security Systems. pp 1-87 


2.    วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย , 2535 ศัพทเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ. 


3.    วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย , 2535 ศัพทเทคนิควิศวกรรมไฟฟาส่ือสาร. กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ. 


4.    Tremaine, H. M., 1979 Audiocyclopedia. Indianapolis : Howard W. Sams & Co., Inc 


5.    Philips Hearing Aids, The Listening Coil in Hearing Aids and Loops for Inductive Listening 
Installation. 


6.    School of Acoustics and Electronic Engineering, University of Salford., Level3 Module 
AGA03304 Electroacoustic System Design: Intelligibility 


         

 

ชื่อ : เกิด : อายุ : ศาสนา :

การศึกษา

2525 : 2519 :

ประวัติผูแปลและเรียบเรียง

นายคมสันต สริ ิวัฒนาพาท 23 สิงหาคม 2499
48ป
คริสต

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

                  :  วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประเภทวุฒวิ ิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟา แขนงไฟฟาสื่อสาร (วฟส 52) 


                  :  วิชาชีพวิศวกรรมควบคมุ ประเภทภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟา แขนงไฟฟากําลัง (ภฟก 3564) 


ประวัติการทํางาน

2520 - 2521 : 2521 - 2537 : 2537 - 2538 : 2538 –2541 : 2541 –2543 : 2543 –ปจจุบนั :

การไฟฟาสวนภูมิภาค
บริษัท ไฟฟาฟลิปสแหงประเทศไทย จํากดั
บริษัท ซิสเต็ม เอ็นจิเนยี ริ่ง แอนด เทคโนโลยี่ จํากัด บริษัท สยามเทลเทคคอมพิวเตอร จํากดั
บริษัท ฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด วิศวกรอิสระ

 




รู้เรื่องเครื่องเสียง

เครื่องเสียงกลางแจ้ง
ทำระบบเน็ตเวิร์ก เรื่องเลเยอร์นี้สำคัญ
Dante Gateway ตอนที่ 4 article
Dante audio network ตอนที่ 3 article
Dante network ตอนที่ 2 article
รู้เรื่องระบบ Dante ตอนที่ 1 article
ระบบ Dante
การใช้งาน Compressor
กล้องโทรทัศน์วงจรปิดประเภทไอพี Spec IP Camera with DIVAR IP 7000
Spec IP Camera with DIVAR IP 3000
สเปคของกล้องวงจรปิด และ DVR
เครื่องรับวิทยุ AM FM ดิจิตอล
การกำหนด TOR ระบบเสียงประกาศดิจิตอล
กำหนดสเป็ค ระบบเสียงประกาศแบบดิจิตอล
คุณลักษณะ ระบบเสียงประกาศ 16, 24, 32 โซน
ความต้องการระบบเสียงประกาศ 120 โซน
การกำหนดสเป็คระบบเสียงประกาศ 6 โซน
การออกแบบระบบเสียงประกาศ
CCTV CONCEPT DESIGN article
การตั้งค่าไมโครโฟน
การต่อสายสัญญานแบบต่างๆ
การปรับแต่ง / การใช้งาน อีควอไลเซอร์ (EQUALIZER)



Copyright © 2024 All Rights Reserved.
เพจเฟซบุ๊ค